Emergency Decree postponed Prevention of Torture Act's enforcement
อ่าน

ยังไม่เคาะ! ส.ส. ส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยปมพ.ร.ก.เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ

28 ก.พ. 2566 ส.ส. 100 คน เข้าชื่อกันเสนอต่อประธานสภา เพื่อส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญเพื่อให้วินิจฉัยว่า พ.ร.ก. เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ นั้นไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญ มาตรา 172 กำหนด
Emergency Decree postponed Prevention of Torture Act's enforcement
อ่าน

จับตาประชุมสภา นัดลงมติอนุมัติ พ.ร.ก.เลื่อนบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ

28 ก.พ. 2566 สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา มีวาระพิจารณาอนุมัติพ.ร.ก. แก้ไขพ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ ที่ครม. ออกมเพื่อการบังคับใช้พ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ 4 มาตราที่เกี่ยวกับกลไกการป้องกันการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหายออกไป
Act to prevent torture
อ่าน

สตช. ขอขยายเวลาบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ เหตุงบประมาณ-บุคลากร ยังไม่พร้อม

พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ พ.ศ.2565 จะมีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2566 แต่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำหนังสือเสนอความเห็น ขอให้ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว เฉพาะหมวด 3 การป้องกันการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย เหตุบุคลากร-งบประมาณยังไม่พร้อม
seminar Women : Unfinished Justice
อ่าน

RECAP : เสวนาผู้หญิงกับความยุติธรรม การต่อสู้ที่ไม่สิ้นสุด

27 มีนาคม 2565 เวลา 17.00 น. เครือข่ายภาคประชาสังคมนำโดย Protection international และกลุ่มดินสอสี จัดกิจกรรม Women : Unfinished Justice ผู้หญิงกับความยุติธรรมที่ไม่สิ้นสุด 
Parliament approved draft torture-enforced disappearance law
อ่าน

หยุดลอยนวลพ้นผิด! สภาลงมติวาระสองและสาม ผ่านพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมาน ส่งให้ส.ว.พิจารณาต่อ

23 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติในวาระที่สองและสาม เห็นชอบกับร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … ที่คณะกรรมาธิการแก้ไข โดยลำดับต่อไป ร่างกฎหมายก็จะถูกส่งไปให้วุฒิสภาพิจารณา ก่อนจะทูลเกล้าให้ลงพระปรมาภิไธยเพื่อประกาศใช้อย่างเป็นทางการในพระราชกิจจานุเบกษา
TN Agentina
อ่าน

#saveวันเฉลิม: บทเรียนละตินอเมริกา 5 ปัจจัยการเมือง ‘เช็คบิลย้อนหลัง’การละเมิดสิทธิยุคเผด็จการทหาร

วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ ไม่ใช่ผู้ลี้ภัยสัญชาติไทยรายแรกที่ถูกอุ้มหายในประเทศเพื่อนบ้าน ตั้งแต่ปี 2559 มีผู้ลี้ภัยถูกอุ้มหายไปแล้ว 9 ราย แต่ก่อนที่จะสิ้นหวังในการตามหาความยุติธรรม เราอยากชวนผู้อ่านมองออกไปยังบริบทโลกเพื่อค้นหาบทเรียนและปัจจัยของความสำเร็จที่เคยเกิดขึ้นแล้ว     
Handcuff
อ่าน

การทรมานหาหลักฐานไม่ง่าย การค้นหาความจริงยังสำคัญสำหรับกระบวนการสันติภาพ

เหตุการณ์ซ้อมทรมานผู้ถูกควบคุมตัวในจังหวัดชายแดนใต้มีหลายกรณีที่เป็นที่จดจำ ล่าสุดกรณีของนายอับดุลเลาะ อีซอมูซอ ขาหยุดหายใจและมีอาการสมองบวมจากการหยุดหายใจ การค้นหาความจริงจะนำไปสู่การดำเนินการอื่นๆ ที่จะกลายเป็นฟันเฟืองในการสร้างสันติภาพที่แท้จริงได้
Statement on Torture
อ่าน

แถลงการณ์ร่วม ประเทศไทย: ต้องให้ความสำคัญกับการแก้ไขเพิ่มเติมและการออกกฎหมายเกี่ยวกับการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย

แอมเนสตี้แถลงร่วม ICJ ผิดหวังต่อข่าวที่ระบุว่า "ร่าง พ.ร.บ.ทรมานและอุ้มหาย" ต้องล่าช้าออกไปอีก พร้อมเรียกร้องทางการไทยให้เร่งออกกฎหมายนี้โดยเร็ว
7454255836_bbaa68743a
อ่าน

รื้อถอนมายาคติ “การซ้อมทรมาน” กันอีกสักครั้ง?

การซ้อมทรมานยังเป็นเรื่องที่เต็มไปด้วยข้อถกเถียงถึงความคุ้มค่าและปัญหาด้านจริยธรรม ดังนั้นเพื่อร่วมกันหาทางออก ไอลอว์ จึงขอหยิบยกเหตุผลของผู้ที่เห็นความจำเป็นในการซ้อมทรมานและเหตุผลที่ต้องคัดค้านเพื่อให้ทุกคนทบทวนอีกครั้งว่า “เรายัง ‘รับได้’ กับการซ้อมทรมานหรือเปล่า”