Change NCPO Template-01
อ่าน

Change.NCPO “Lookade” Chonthicha from student activist to Democracy campaigner

My family background is similar to other middle class families. Prior to the demonstration crackdown in 2010 I was like other teenager who don’t care about politics. During the Red Shirt protest I had never join them. I started to pay attention to politics when the Red Shirt protesters were crackdown. I remember that I saw a magazine called “Voice of Taksin” which written about the demonstration crackdown in the city center of Bangkok. I never know about the Red Shirt before I had neither positive nor negative feeling toward them.
_Change-NCPO
อ่าน

Change.NCPO รังสิมันต์ “โรม” จากนักกิจกรรมนักศึกษาสู่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ได้กลับมาที่หอศิลป์กรุงเทพครั้งนี้ผมมีความรู้สึกหลายอย่างนะ อย่างแรกเลยผมรู้มาว่าหอศิลป์ฯไม่ได้รับเงินสนับสนุนจากกทม.แล้วก็เลยตั้งคำถามกับตัวเองว่าเราพอจะหาทางช่วยอะไรได้บ้างไหม เพราะกรุงเทพฯ ต้องมีพื้นที่ให้คนได้แสดงออกทางวัฒนธรรม และหอศิลป์ฯก็เป็นหนึ่งในไม่กี่พื้นที่ของกรุงเทพฯที่ทำหน้าที่นั้น คงต้องหาทางช่วยหอศิลป์ในเรื่องนี้เพื่อให้พวกเขา (หอศิลป์กรุงเทพ) รู้สึกมั่นคงและทำหน้าที่ในฐานะพื้นที่ทางวัฒนธรรมให้กับสังคมไทยได้ต่อไป   วันนี้ผมมีความรู้สึกที่แตกต่างไป เห็นเด็กๆมากันเยอะ เห็นคนพลุกพล่าน ได้ยินเสียงคนหัวเราะ มันเป็นความรู้สึกในทางบวก แต่ย้อนก
Change NCPO Template-01
อ่าน

Change.NCPO “ลูกเกด” – ชลธิชา จากนิสิตทำกิจกรรมการเมือง สู่คนทำงานรณรงค์ประชาธิปไตย

โดยพื้นฐานทางครอบครัวเราก็เหมือนชนชั้นกลางทั่วไปนะ ก่อนหน้าการสลายชุมนุมปี 2553 เราก็เหมือนวัยรุ่นทั่วไปที่ไม่ได้สนใจการเมือง ช่วงที่คนเสื้อแดงชุมนุมเราก็ไม่เคยไปชุมนุมกับเขา จุดที่ทำให้เริ่มสนใจการเมืองอย่างจริงจังคือการล้อมปราบคนเสื้อแดง ตอนนั้นเราไปเจอหนังสือเล่มหนึ่ง น่าจะเป็น Voice of Taksin ที่เขียนเรื่องการสลายการชุมนุมที่มีคนตายกลางกรุงเทพฯ ก็เลยเริ่มสนใจตั้งคำถามอะไรหลายๆอย่างกับชีวิต ถ้าจะบอกว่าเราเป็นผลผลิตของความอยุติธรรมที่เกิดขึ้นจากการสลายการชุมนุมปี 2553 ก็คงไม่ผิดนัก ตัวเราเองไม่เคยสนใจการเมือง ไม่เคยรู้จักคนเสื้อแดง ไ
-'ชุมนุมเกินห้าคน'--
อ่าน

ศาลทยอยยกฟ้อง คดี “ชุมนุมเกินห้าคน” หลัง คสช. ยกเลิกคำสั่งห้าม “กลุ่มคนอยากเลือกตั้ง” ต้องสู้คดีข้อหาอื่นต่อไป

การชุมนุมทางการเมืองซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน กลายเป็นความผิดทางอาญาตั้งแต่ คสช. เข้ายึดอำนาจ ผ่านการออกประกาศ คสช. ฉบับที่ 7/2557 กำหนดให้ผู้ที่ฝ่าฝืนไปชุมนุมมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน 20000 บาทด้วย และเกือบหนึ่งปีต่อมาพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้า คสช. อาศัยอำนาจตามมาตรา 44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 3/2558 กำหนดห้ามการชุมนุมทางการเมืองเช่นเดียวกัน แต่กำหนดโทษทั้งจำคุกและปรับต่ำลงมาครึ่งหนึ่ง รวมทั้งเปิดช่องไว้ด้วยว่าหากเป็นการชุมนุมจะทำได้เมื่อได้รับอนุญาตจาก คสช. ต่อมาในวันที่ 11 ธันวาคม 2562 เมื่อมีการออกคำสั่งหัวหน้า คสช.
อ่าน

รู้จัก 7 ผู้ต้องขังฐานแจกใบปลิวฝ่าฝืนพ.ร.บ.ประชามติฯ

23 มิถุนายน 2559 สมาชิกขบวนการประชาธิปไตยใหม่และสมาชิกสหภาพแรงงานรวม 13 คน ไปแจกเอกสารรณรงค์ประชามติร่างรัฐธรรมนูญและแบบฟอร์มการขอใช้สิทธิลงประชามตินอกเขตที่ตลาดเคหะบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ และถูกเจ้าหน้าที่ทหารและตำรวจจับกุม  ผู้ต้องหาทั้งหมดถูกตั้งข้อหา ชุมนุมทางการเมืองเกิน 5 คน ฝ่าฝืนคำสั่งหัวหน้าคสช.
7 activists
อ่าน

Charges and Status of 20 activists arrested during 23-24 June 2016

On 23-24 June 2016, 20 individuals were arrested for participating in a series of political activities. 13 of them were arrested in the evening of 23 June, 2016, for distributing leaflets campaigning for ‘Vote No’ against the draft constitution. The other 7 were arrested in the morning of 24 June, 2016, during their activity to commemorate the 84th anniversary of Thai revolution day.  Those 20 activists were together charged with violating Head of NCPO’s order no. 3/2558 for political gathering.
7 activists
อ่าน

สรุปการตั้งข้อกล่าวหาและสถานะของนักกิจกรรมที่ถูกจับกุม ช่วง 23-24 มิถุนายน 2559

ช่วงวันที่ 23 และ 24 มิถุนายน 2559 มีผู้ถูกจับกุมตัวจากการทำกิจกรรมทางการเมืองถึง 20 คน 13 คน ถูกจับตัวในช่วงค่ำวันที่ 23 เมื่อไปแจกใบปลิวรณรงค์ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญที่จังหวัดสมุทรปราการ ขณะที่อีกเจ็ดคนถูกจับตัวในเช้าวันที่ 24 ระหว่างทำกิจกรรมรำลึกวันอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 ด้วยการเดินเท้าจากวัดพระศรีมหาธาตุไปทำความสะอาดอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ วงเวียนหลักสี่  จุดร่วมของทั้ง 20 คน คือ ทุกคนถูกตั้งข้อหาฝ่าฝืนคำสั่งหัวหน้าคสช.เรื่องห้ามชุมนุมทางการเมือง แต่ก็มีจุดต่างคือแต่ละคนถูกตั้งข้อหาพ่วงเป็นของแถมหนักเบาแตกต่างกันไป กฎหมายที่นำมาใช้มีทั้งพ.ร.บ.ป
21455667630_db2ae231a6_o
อ่าน

กิจกรรม 19 กันยา 58: ตำรวจชี้ชัด จัดเสวนาวิชาการได้

‪‎ประชาธิปไตยใหม่‬จัดเสวนาและเดินขบวนรำลึกรัฐประหาร 19 กันยาฯ ตำรวจชี้ชัด งานเสวนาวิชาการจัดได้ แต่การเดินขบวนบนท้องถนนเสี่ยงผิดพ.ร.บ.ชุมนุมฯ และประกาศ คสช.  19 กันยายน 2558 เนื่องในวันครบรอบ 9 ปี เหตุการณ์รัฐประหารปี 2549 ขบวนการประชาธิปไตยใหม่ ประกาศจัดกิจกรรม “9 ปีที่ก้าวไม่พ้นรัฐประหาร 19 กันยา” ที่ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์ และประกาศว่าในช่วงเย็น จะเดินขบวนจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไปที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย คืนก่อนงานมีกระแสข่าวว่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จะไม่อนุญาตให้ใช้ห้องประชุมประกอบ หุตะสิง
11667286_10155737672125551_2931913009208999696_n
อ่าน

ศาลทหารยกคำร้องขอฝากขังนักกิจกรรม “ขบวนการประชาธิปไตยใหม่”

ศาลทหารยกคำร้องขอฝากขังนักกิจกรรม “ขบวนการประชาธิปไตยใหม่” แต่ พนักงานสอบสวนคดี ชุมนุม 22 พ.ค.
18666864743_4c50bbe496_q
อ่าน

ความคิดความเชื่อผู้ต้องขัง #ประชาธิปไตยใหม่: ทำไมไม่ยื่นประกันตัว?

3 กรกฎาคม 2558 ไอลอว์ได้ไปเยี่ยมนักศึกษากลุ่มประชาธิปไตยใหม่ที่เรือนจำพิเศษกรุงเทพ ต่อไปนี้เป็นบทสนทนาที่เราได้คุยกับพวกเขา รัฐพล ศุภโสภณ หรือบาส กล่าวว่า เรายืนยันว่ากระบวนการตั้งแต่ต้นของการทำรัฐประหารไม่ถูกกฎหมาย การใช้อำนาจทุกอย่างตั้งแต่การจับกุมและแจ้งข้อกล่าวหา การขึ้นศาลทหาร ไม่ใช่กระบวนการปกติ เมื่อเริ่มต้นไม่ถูกต้องกระบวนการต่างๆ ที่ตามมาหลังจากนั้นก็ไม่ถูกต้องเหมือนผลไม้ของต้นไม้มีพิษ ก็ย่อมเป็นผลไม้พิษ เราไม่ยอมรับทั้งกระบวนการออกกฎหมายและกระบวนการใช้บังคับ การไม่ประกันตัวเป็นการแสดงว่าไม่ยอมรับเรื่องเหล่านี้<