web blocked
อ่าน

ครย.112 ยื่นจดหมายถามสาเหตุปิดเว็บ no.112

คณะราษฎรยกเลิก112 (ครย.112) ยื่นจดหมายเปิดผนึกถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อสอบถามถึงสาเหตุการปิดกั้นการเข้าถึงเว็บไซต์ no112.org ซึ่งเป็นช่องทางรวบรวมรายชื่อประชาชนที่ประสงค์จะเสนอร่างกฎหมายเพื่อยกเลิกประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112
DES
อ่าน

ประกาศ DES มอบภาระให้ภาคธุรกิจเก็บข้อมูลผู้ใช้เน็ต ให้รัฐมีหลักฐานหาตัวผู้กระทำความผิด

ประกาศ DES มีผลใช้บังคับตั้งแต่ 14 สิงหาคม 2564 เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกำหนดมาตรฐานการเก็บรักษาข้อมูลและส่งเสริมธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้มีความน่าเชื่อถือ และเก็บข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ใช้รวบรวมพยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และความผิดฐานต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกออนไลน์   
Pic-01
อ่าน

นวัตกรรมม็อบ 2020: กลยุทธ์ใหม่ๆ รับมือการปิดกั้น กดปราบ

ปีที่แล้ว หากพูดถึ…
50273740932_a7f3bd69db_o
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ให้อำนาจรัฐปิดเว็บที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย แม้ไม่ผิดกฎหมาย

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ปี 2560 มาตรา 20 เป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญสำหรับรัฐในการปิดกั้นเนื้อหาบนโลกออนไลน์ โดยมาตราดังกล่าวกำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคําร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอํานาจขอให้มีคําสั่งระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างกว้างขวาง
Coffee Shop
อ่าน

หน้าที่ของร้านกาแฟ ต้องเก็บข้อมูลผู้ใช้เน็ต ฝ่าฝืนปรับสูงสุด 500,000

ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่ใช้อยู่ตั้งแต่ปี 2550 กำหนดความหมายของ "ผู้ให้บริการ" ไว้อย่างกว้างขวาง ไม่ได้เจาะจงเฉพาะผู้ให้บริการรายใหญ่เท่านั้น ซึ่งร้านอาหาร และร้านกาแฟ ก็อยู่ข่ายนี้ด้วย ซึ่งผู้ให้บริการมีหน้าที่ต้องเก็บข้อมูลผู้ใช้อินเทอร์เน็ตไว้ 90 วัน และอาจขยายได้ไม่เกินสองปี สร้างภาระอย่างมากให้กับธุรกิจขนาดเล็ก
NBTC Building
อ่าน

สนช.มาเงียบๆ! ผ่านร่าง พ.ร.บ.กสทช. รื้อองค์กรจัดสรรคลื่นส่อให้ทหารคุมยาว 12 ปี

สนช.ผ่านร่างแก้ไข พ.ร.บ. กสทช. โดยที่ประชาชนแทบไม่ได้รับรู้ด้วย การแก้ไขครั้งนี้จะลดความเป็นอิสระให้ กสทช. ทำงานภายใต้แผนระดับชาติของกระทรวงดิจิทัล และเปลี่ยนวิธีสรรหากรรมการ กสทช. ให้ศาลกับองค์กรอิสระคัดเลือกทั้งหมด สุดท้ายตัดสินใจโดยวุฒิสภา ที่มาจาก คสช.
001
อ่าน

วิธีการทางเทคนิคในการปิดกั้นสื่อออนไลน์หรือ “บล็อกเว็บ”

ดูเหมือนนิยามที่ว่า อินเทอร์เน็ตคือโลกไร้พรมแดนคงจะไม่สะท้อนความจริงนัก อย่างน้อยก็ในประเทศไทยที่ปัจจุบันยังคงมีการปิดกั้นการเข้าถึงเนื้อหาบางอย่างบนเว็บไซต์อยู่โดยตลอดภายใต้เหตุผลว่า “มีเนื้อหาและข้อมูลไม่เหมาะสม”