52547821942_5410b3d4ef_o
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ส่องนโยบาย “กระจายอำนาจ” ของพรรคการเมือง หลังสภาคว่ำร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น

ในการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นอย่างช้า ในปี 2566 มีพรรคการเมืองอย่างน้อยสองพรรค ได้แก่ พรรคเพื่อไทย และพรรคก้าวไกล ที่ประกาศนโยบายสนับสนุนการกระจายอำนาจ และลดการรวมศูนย์อำนาจของส่วนกลาง
52548307404_5043cf0fe6_o
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญภาคห้า: ร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น ไม่ได้ไปต่อ เสียงเห็นชอบไม่ถึงครึ่ง-ส.ว.เห็นชอบแค่ 6 เสียง

7 ธันวาคม 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีนัดลงมติ ร่างแก้รัฐธรรมนูญ "ปลดล็อกท้องถิ่น" ที่เสนอให้ลดอำนาจราชการส่วนภูมิภาค และเพิ่มอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีอิสระในการทำบริการสาธารณะ และได้รับการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอเพื่อตอบโจทย์ปัญหาในแต่ละพื้นที่ แต่ร่างดังกล่าวก็ต้องตกไปเนื่องจากได้รับเสียงเห็นชอบจากรัฐสภาไม่ถึงกึ่งหนึ่งและได้รับเสียงเห็นชอบจาก ส.ว. ไม่ถึงหนึ่งในสาม
Decentralization amendment
อ่าน

บรรยง-วีระศักดิ์-ธำรงศักดิ์ ขึ้นเวทีก้าวหน้า หนุนกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น

1 เมษายน 2565 เวลา 10.00 น. คณะก้าวหน้าจัดเวที “ผ่าทางตัน 130 ปี รัฐราชการรวมศูนย์” โดยเป็นส่วนหนึ่งของการเริ่มแคมเปญล่ารายชื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ “คนละชื่อ ปลดล็อคท้องถิ่น” ที่อาคารอนาคตใหม่
49776278991_15244f5f45_o
อ่าน

วงเสวนาชี้ วิกฤติโควิด-19 สะท้อนภาวะอ่อนแอของรัฐธรรมนูญปี 60

ในวิกฤติการระบาดของโรคโควิด-19 ได้สะท้อนให้เห็นจุดอ่อนของรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่ออกแบบมาให้พรรคการเมืองที่เป็นรัฐบาลขาดความชอบธรรมเพราะไม่ใช่พรรคที่มีตัวแทนมากที่สุดในสภา และการต้องไปรวมเสียงกับพรรคเสียงข้างน้อยยิ่งทำให้รัฐบาลอ่อนแอ ไม่เป็นเอกภาพ เมื่อผนวกกับรัฐราชการรวมศูนย์ยิ่งทำให้การตอบสนองปัญหาของประชาชนไม่สมบูรณ์ ขณะเดียวกัน วิกฤติโควิดยังทำให้ต้องพิจารณาทบทวนแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนและมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม
local election
อ่าน

กฎหมายเบื้องต้น เรื่องการเลือกตั้งท้องถิ่น

การปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยเริ่มมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 และพัฒนาตัวอย่างลุ่มๆ ดอนๆ ยังมีทับซ้อนกับระบบกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก โดยรัฐธรรมนูญ 2560 เองแม้รับรองการปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ก็ไม่ก้าวหน้าไปไหนมาก ส่วนกฎหมายเลือกตั้งท้องถิ่นทุกฉบับก็ถูกแก้ไขใหม่ในยุคของ คสช.
THCommonerParty
อ่าน

พรรคคนธรรมดาแห่งประเทศไทย: ส่งผู้สมัคร ส.ส. แค่สี่เขต ยืนยันนายกฯ ต้องเป็น ส.ส.

การเปิดตัวของพรรคคนธรรมดาแห่งประเทศไทย เมื่อปี 2557 มาพร้อมกับนโยบายที่ก้าวหน้าและแตกต่าง อย่างไรก็ตามพรรคก็ยังไม่มีโอกาสลงเลือกตั้ง เพราะเกิดการรัฐประหารปี 2557 การเลือกตั้ง 24 มี.ค 2562 พรรคคนธรรมดาฯ กลับมาอีกครั้ง แต่ส่งผู้สมัคร ส.ส.ไม่มากนัก
20160429062432
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.การเลือกตั้งท้องถิ่นฯ: เลือกตั้งท้องถิ่นครั้งแรกต้องรอ คสช. อนุญาต

ร่างกฎหมายเลือกตั้งท้องถิ่นฯ แม่บทการจัดการเลือกตั้ง อปท.ทุกระดับ จะผ่านความเห็นชอบจาก สนช. ในวันที่ 24 ม.ค. 2562
Decentralization
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กระจายอำนาจถอยหลัง บางท้องถิ่นไม่ต้องเลือกตั้ง และลดการมีส่วนร่วมประชาชน

ประเด็นการกระจายอำนาจเป็นสิ่งที่พัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ถึงรัฐธรรมนูญ 2550 เป็นต้นมา ปัจจุบัน การกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่นต้องหยุดชะงักลงอย่างไม่มีกำหนด เมื่อ คสช.รัฐประหาร นอกจากนี้ในร่างรัฐธรรมนูญปี 2559 ที่จะถูกนำไปออกเสียงประชามติก็ไม่มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจนถึงการกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่น เมื่อเปรียบเทียบกับร่างรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า
อ่าน

Sasiwimol: Mother’s Day Without Mother

Kamlang Kaw 1 The sentence at the top of an outbound letter from the prison dated 24 July 2015 reads, “It is only our bodies that are separated.” There are precisely 15 lines of text as prescribed by prison regulations. The letter holds a mother’s message of concern for her children: “My two daughters, how are you? What are you doing now? I really miss you. I really want to see your faces. Are you being naughty?  Especially Ice Thim, you definitely must be mischievous, am I right? Do you miss me?
Viengrat Netipo
อ่าน

ฟังเสียงปฏิรูป: เวียงรัฐ เนติโพธิ์ มองข้อเสนอสปช.เรื่องปฏิรูปท้องถิ่น “ประชาธิปไตยที่เพิ่งเริ่มคลาน”

ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิ่นของ สปช. มีสาระสำคัญคือการกระจายอำนาจและโอนถ่ายภารกิจไปยังท้องถิ่น แต่เมื่อพิจารณาในรายละเอียด กลับพบข้อเสนอที่ย้อนแย้งต่อหลักการกระจายอำนาจ เช่น การเพิ่มบทบาทกำกับดูแลท้องถิ่น จึงชวนให้สงสัยว่า ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิ่นของ สปช. มีทิศทางอย่างไรกันแน่