migrant labour
อ่าน

มหากาพย์ ฟาร์มไก่ฟ้องคนงานพม่า+เอ็นจีโอ หลังพูดเรื่องการทำงานหนักวันละ 20 ชั่วโมง

  บริษัท ธรรมเกษตร เป็นเจ้าของธุรกิจฟาร์มไก่ที่ตั้งอยู่ในจังหวัดลพบุรี ทำกิจการเลี้ยงไก่และขายให้กับ “เบทาโกร” ยักษ์ใหญ่ในธุรกิจนี้ที่จะรับซื้อไก่เพื่อไปแปรรูปเป็นอาหารต่อ ฟาร์มไก่จ้างคนงานชาวพม่ามาทำงานดูแลไก่ ทั้งการให้อาหาร ดูแลแสงไฟ อุณหภูมิ โดยเฉพาะในช่วงที่ไก่ยังไม่แข็งแรง ในช่วงปี 2559 ประเด็นปัญหาของสภาพการทำงานที่ฟาร์มไก่แห่งนี้ถูกเปิดเผยต่อสาธารณะ เมื่อคนงานชาวพม่า 14 คน รวมตัวกันเรียกร้องสิทธิ และกล่าวหาว่า บริษัทละเมิดสิทธิแรงงาน 
อ่าน

“อำนาจบุกวัดพระธรรมกาย ตามคำสั่ง 5/2560 เปรียบเทียบกับ คำสั่ง 3/2558 และ กฎอัยการศึก”

ประกาศคำสั่ง คสช. ในการบุกวัดธรรมกายมีลักษณะคล้ายกฎอัยการศึก ที่อาจกระทบสิทธิเสรีภาพประชาชน และน่ากังวลว่าในอนาคตอาจจะใช้อำนาจนี้ในการบังคับใช้กับพื้นที่อื่นได้ต่อไป
reseave military bill
อ่าน

รด.ไม่ช่วยอะไร เมื่อเจอกฎหมายกำลังพลสำรอง

สนช.ร่าง พ.ร.บ.กำลังพลสำรอง โดยเนื้อหาให้ทหารกองหนุน กลับมาฝึกวิชาทหารอีกครั้งพื่อการเตรียมความพร้อมในกิจการของกระทรวงกลาโหม โดยหากฝ่าฝืนไม่เข้ารับราชการทหารมีโทษสูงสุดติดคุกสี่ปี ในส่วนของนายจ้างหากไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างซึ่งต้องรับราชการทหารในวันลามีโทษปรับสองหมื่นบาท
อ่าน

การอุทธรณ์ฎีกาในศาลทหาร

ในยามปกติ ศาลทหารมีการพิจารณา 3 ชั้น เช่นเดียวกับศาลยุติธรรม แต่เมื่อมีการประกาศใช้กฎอัยการศึก ศาลทหารจะเปลี่ยนเป็น "ศาลทหารในภาวะไม่ปกติ" ผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าทำความผิดในระหว่างที่มีการประกาศกฎอัยการศึกจะไม่มีสิทธิอุทธรณ์หรือฎีกา
Who are thought about referendum
อ่าน

‘ประชามติ’ รัฐธรรมนูญใหม่ ใครคิดยังไง?

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ของ คสช. ใกล้จะเสร็จสินในช่วงกลางปี 2558 ขณะเดียวกันตั้งแต่ต้นปีนี้เอง เสียงเรียกร้องให้มีการทำประชามติจากหลายฝ่ายก็ดังมากขึ้น ลองดูใครคิดอย่างไรเกี่ยวกับประชามติรัฐธรรมนูญบ้าง ? 
อ่าน

แผ่นดินอุดมสมบูรณ์: สำรวจชุมชนที่รับผลกระทบจากรัฐ หลังรัฐประหาร 2557

หลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 ชุนชนหลายแห่งถูกละเมิดสิทธิจากเจ้าหน้าที่รัฐ เช่น การที่เจ้าหน้าที่รัฐบุกไล่รื้อชุมชน ตามนโยบายของรัฐบาล หรือ การที่เจ้าหน้าที่รัฐเป็นเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้นายทุน ซึ่งมีชุมชนอย่างน้อย  22 แห่ง ที่ได้รับผลกระทบ
coputertum2
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) ยาแรงผิดขนานสำหรับการหมิ่นประมาทออนไลน์

*หมายเหตุ* พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ถูกแก้ไขในปี 2560 และมาตรา 14(1) ถูกแก้ไขไปแล้ว เนื้อหาในบทความนี้จึงมีส่วนที่ไม่ทันสมัยต่อกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงไป