อ่าน

กมธ.ร่วมฯ พิจารณากฎหมายลูก ส.ส. คงกติกาห้ามจัดมหรสพ ผู้สมัครพรรคเดียวกันลงหลายเขตใช้คนละเบอร์

ประเด็นที่เป็นปัญหาใน ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยที่มา ส.ส.ฯ คณะกรรมาธิการร่วมสามฝ่ายที่ประกอบไปด้วยตัวแทนจาก สนช. กรธ. และประธาน กกต. มีมติร่วมกัน ในประเด็นสำคัญ คือห้ามจัดมหรสพ ผู้สมัครพรรคเดียวกันลงหลายเขตใช้คนละเบอร์
organic law on Constitutional Court
อ่าน

ร่าง พ.ร.ป.ศาลรัฐธรรมนูญ: ห้ามวิจารณ์และให้อำนาจแก้ ‘เดดล็อคทางการเมือง’

สาระสำคัญของร่างกฎหมายลูกศาลรัฐธรรมนูญ หลายอย่างก็ยังคงเหมือนเดิม แต่ส่วนที่เปลี่ยนแปลงไปก็คือ ที่มาของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ​ แต่สิ่งที่น่าสนใจคือ ให้ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจในการให้คำปรึกษาเพื่อยุติข้อโต้แย้งระหว่างองค์กรตามรัฐธรรมนูญ การยื่นฟ้องร้องต่อศาลได้โดยตรง และเพิ่มบทบัญญัติห้ามละเมิดอำนาจศาล ห้ามวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ
อ่าน

พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ “ตั้งพรรคยาก ยุบพรรคง่าย ห้ามประชานิยม”

พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ คือหนึ่งในสี่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญที่จะนำประเทศไปสู่การเลือกตั้ง สาระสำคัญคือ การกำหนดสิ่งที่พรรคการเมืองต้องทำก่อนไปสู่การเลือกตั้ง โดยกฎหมายจะกำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนการจัดตั้งพรรคการเมือง การหาสมาชิกพรรค การหาเสียงเลือกตั้ง และบทบาทของกกต. กับศาลรัฐธรรมนูญ   
6 month and 6 topics in constitution
อ่าน

6 เดือน รัฐธรรมนูญใหม่ 6 ประเด็นใหญ่ ที่ต้องติดตาม

หลังรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ผ่านประชามติ เราเคยชวนจับตา 6 ประเด็นสำคัญที่จะเป็นผลพวงของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ นับตั้งแต่ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 เวลาผ่านมาประมาณ 6 เดือนเศษ ของการบังคับใช้รัฐธรรมนูญ กลไกหลากหลายที่รัฐธรรมนูญวางหมากเอาไว้เริ่มเห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น มีอะไรเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง       
Supreme Court for politicians
อ่าน

ศาลฎีกานักการเมืองฯ โฉมใหม่ เพิ่มเงื่อนไขเพียบมุ่งเอาผิดจำเลยหนีคดี

กฎหมายลูกเรื่องศาลฎีกาแผนกคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ประกาศใช้แล้ว ให้ศาลเป็นผู้ค้นหาความจริงเอง ขั้นตอนรับฟังพยานหลักฐานยืดหยุ่นได้หมด เพิ่มเงื่อนไขเอาผิดจำเลยหนีคดี พิจารณาลับหลังได้ – ไม่จำกัดอายุความ ยื่นอุทธรณ์ได้อีกหนึ่งชั้น
อ่าน

มองคดีจำนำข้าวให้ยาวถึงนโยบายหาเสียงครั้งหน้า

แม้คำพิพากษาคดีจำนำข้าวจะยังไม่สะท้อนภาพการแทรกแซงการดำเนินนโยบายของรัฐบาลโดยองค์กรตุลาการอย่างเด่นชัด แต่ก็น่าตั้งข้อสังเกตว่า คดีดังกล่าวจะกลายเป็นบรรทัดฐานสำหรับลงโทษรัฐบาลที่ดำเนินนโยบายที่ถูกกล่าวหาว่าใช้นโยบาย 'ประชานิยม' หรือไม่ โดยเฉพาะในยุคที่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ให้อำนาจองค์กรอิสระในการจับตารัฐบาลชุดหน้าอย่างเข้มข้น
อ่าน

ทำความรู้จัก ‘ผู้คุมกฎการเลือกตั้ง’ กับลูกเล่นที่มากกว่าเดิม

ก่อนจะไปสู่การเลือกตั้ง สิ่งสำคัญก็คือ การสำรวจดูว่า ใครกันที่จะมาทำเป็นหน้าที่กรรมการ ทั้งนี้ จากการสำรวจ พ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พบว่า ขนาดของ กกต.ใหญ่ขึ้น เพราะจำนวนกรรมการกกต.ที่เพิ่มขึ้นจากเดิม นอกจากนี้ กฎหมายยังเพิ่มกลไกใหม่ๆ เข้าไปอีก อย่างเช่น ผู้ตรวจการเลือกตั้ง แถมยังมีอำนาจระงับการเลือกตั้ง รวมถึงเพิกถอนสิทธิรับเลือกตั้งชั่วคราวได้อีก
Elec Com
อ่าน

รวมข้อโต้แย้ง ‘ไร้ความหมาย’ ต่อกฎหมายลูกของกกต.

13 กรกฎาคม 2560 สนช. มีมติเห็นชอบกฎหมายลูก กกต.  ด้วยคะแนนเสียงท้วมท้น ภายหลังมีการตั้งกรรมาธิการวิสามัญร่วม 3 ฝ่าย เพราะ กกต. ไม่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายลูกที่สนช. ได้เห็นชอบไปก่อนหน้านี้ แต่ทว่า สนช. ก็ไม่ได้ปรับแก้ตามที่ กกต. ให้ความเห็นไว้แต่อย่างใด ทั้งนี้ ประเด็นกฎหมายที่กกต. ไม่เห็นด้วยล้วนเกี่ยวกับการตัดอำนาจของกกต. ในการจัดการเลือกตั้ง การเพิ่มคุณสมบัติของกกต. ให้เข้มข้นมากขึ้น รวมไปถึงการเซ็ตซีโร่หรือโละกกต.ชุดปัจจุบันออก 
UCL letter
อ่าน

เอ็นจีโอ 82 องค์กร เสนอร่างกฎหมายกรรมการสิทธิฯ ต้องให้อิสระ-ตามหลักสากล

องค์กรสิทธิมนุษยชน 86 แห่ง และคนทำงานภาคประชาสังคม 71 รายชื่อ ร่วมกันออกจดหมายเปิดผนึกถึงประธาน สนช. และ กรธ. เรื่องการออกพ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ขอให้ยึดหลักการสนธิสัญญาปารีส ให้องค์กรมีความเป็นอิสระ เห็นด้วย "เซ็ตซีโร่"
election commission
อ่าน

พ.ร.ป.กกต. ฉบับ กรธ.: มีคณะกรรมการ 7 คน พร้อมอำนาจระงับการเลือกตั้ง

ร่าง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. …. ที่ กรธ.ปรับปรุงล่าสุดเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2560 มีสาระสำคัญบางส่วนที่แตกต่างไปจากกฎหมายเดิมอยู่พอสมควร ไม่ว่าจะเป็น จำนวนของคณะกรรมการการเลือกตั้ง โครงสร้างและรูปแบบการทำงาน รวมไปถึงสถานะของคณะกรรมการการเลือกตั้งชุดปัจจุบันหลังกฎหมายประกาศใช้