Live Real: สื่ออิสระของคนดินแดง เพื่อคนดินแดง โดยคนดินแดง
อ่าน

Live Real: สื่ออิสระของคนดินแดง เพื่อคนดินแดง โดยคนดินแดง

การปะทะกันระหว่างผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ตำรวจที่บริเวณดินแดง เกือบจะกลายเป็น “เรื่องปกติ” (ที่ผิดปกติ) ในสังคมไทย กล่าวคือ สถานการณ์การชุมนุมในพื้นที่ที่เรียกขานกันว่า “ย่านดินแดง” กลับไม่เป็นที่สนใจของบรรดาสื่อมวลชนและประชาชนมากนัก แม้ว่าในการชุมนุมเกือบจะทุกครั้ง จะมียังมีรายงานเกี่ยวกับการใช้ความรุนแรงเกินกว่าเหตุโดยเจ้าหน้าที่รัฐ หรือมีรายงานผู้ได้รับบาดเจ็บทั้งเจ้าหน้าที่ตำรวจและผู้ชุมนุม รวมถึงมีรายงานความเสียหายของทรัพย์สินราชการและเอกชน ท่ามกลางความเป็นแดนสนธยาของพื้นที่ที่เรียกว่า “ดินแดง” ยังมีสื่อพลเมืองอยู่จำนวนหนึ่งที่คอยเกาะติดสถานการณ์การชุมนุมไม่
กระเทยแม่ลูกอ่อน: จากเพจสายบุญสู่สื่อพลเมืองในม็อบ
อ่าน

กระเทยแม่ลูกอ่อน: จากเพจสายบุญสู่สื่อพลเมืองในม็อบ

สำหรับคนที่ติดตามการชุมนุมที่ดินแดงอย่างใกล้ชิด คงอาจจะคุ้นชินกับชื่อ “กระเทยแม่ลูกอ่อน” สื่อพลเมืองผู้เกาะติดสนามและนำเสนอข่าวผ่านการถ่ายทอดสดการชุมนุมอย่างสม่ำเสมอ โดยก่อนหน้าที่จะผันตัวมาเป็นสื่อพลเมือง ตัวเพจนั้นมีชื่อเสียงมาก่อนจากการทำโรงบุญแจกอาหารกับคนยากไร้ รวมถึงการช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ หลังจากนั้น ถึงมาทำหน้าที่รายงานเรื่องราวในการชุมนุมในฐานะสื่ออิสระแห่งหนึ่ง แม้ว่าเพจกระเทยแม่ลูกอ่อนจะไม่ถูกรับรองความเป็นสื่อโดยกรมประชาสัมพันธ์หรือสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์ แต่ทีมงานก็ยืนยันว่าพวกเขาเป็นสื่อพลเมืองอย่างเต็มภาคภูมิ โดยพวกเขาได้จดทะเบียนประกอบธุ
ภาคประชาชนหิ้วปิ่นโตเข้าสภา ยื่น “ริเริ่ม” เสนอร่างพ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ
อ่าน

ภาคประชาชนหิ้วปิ่นโตเข้าสภา ยื่น “ริเริ่ม” เสนอร่างพ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ

16 ตุลาคม 2562 ภาคประชาชนมาที่อาคารรัฐสภาเพื่อยื่นรายชื่อ “ผู้ริเริ่ม” และหลักการสำคัญ เพื่อเสนอร่างพ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ
ศาลปกครองกลางนัดฟังคำพิพากษาคดีวอยซ์ ทีวี ฟ้องเพิกถอนคำสั่งกสทช.
อ่าน

ศาลปกครองกลางนัดฟังคำพิพากษาคดีวอยซ์ ทีวี ฟ้องเพิกถอนคำสั่งกสทช.

27 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ศาลปกครองกลางออกนั่งพิจารณาคดีเป็นครั้งแรกในคดีที่วอยซ์ ทีวีฟ้องคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 และสำนักงาน กสทช. ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 โดยตุลาการศาลปกครองจะแถลงข้อเท็จจริงในคดี ก่อนที่ในเวลา 14.00 น. ตุลาการฯจะอ่านคำพิพากษาของคดีนี้
ศาลปกครองไต่สวนข้อเท็จจริงคดีวอยซ์ ทีวีฟ้องกสทช.
อ่าน

ศาลปกครองไต่สวนข้อเท็จจริงคดีวอยซ์ ทีวีฟ้องกสทช.

20 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ศาลปกครองนัดไต่สวนข้อเท็จจริง คดีที่วอยซ์ ทีวีฟ้องกสทช. จากการสั่งระงับการออกอากาศวอยซ์ ทีวีเป็นเวลา 15 วัน ตั้งแต่วันที่ 13-27 กุมภาพันธ์ 2562 ก่อนหน้านี้วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562 ศาลปกครองนัดไต่สวนฉุกเฉินทุเลาคำบังคับของกสทช. โดยศาลปกครองมีคำสั่งคุ้มครองให้วอยซ์ ทีวีออกอากาศได้ระหว่างการพิจารณาคดี  
เปิดคำเบิกความ กรณีวอยซ์ ทีวีขอศาลปกครองไต่สวนฉุกเฉินทุเลาคำสั่งกสทช.
อ่าน

เปิดคำเบิกความ กรณีวอยซ์ ทีวีขอศาลปกครองไต่สวนฉุกเฉินทุเลาคำสั่งกสทช.

15 กุมภาพันธ์ 2562 ศาลปกครองนัดไต่สวนฉุกเฉิน กรณีสถานีโทรทัศน์วอยซ์ ทีวี ยื่นฟ้องกสทช. ต่อศาลปกครองและขอให้มีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวทุเลาการบังคับตามคำสั่งของกสทช. ให้สามารถออกอากาศได้ก่อนมีคำพิพากษาเพื่อทุเลาผลกระทบต่อธุรกิจของสถานีฯและผลกระทบต่อเสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชน
กฎหมายละเมิดอำนาจศาล การชั่งน้ำหนักระหว่างความศักดิ์สิทธิ์ของศาล กับเสรีภาพในการแสดงออก
อ่าน

กฎหมายละเมิดอำนาจศาล การชั่งน้ำหนักระหว่างความศักดิ์สิทธิ์ของศาล กับเสรีภาพในการแสดงออก

กฎหมายละเมิดอำนาจศาลถูกกำหนดขึ้นเพื่อป้องกันการแทรกแซงหรือการขัดขวางกระบวนการยุติธรรม โดยมีการกำหนดบทลงโทษเพื่อสงวนไว้ซึ่งอำนาจและความน่าเชื่อถือในการพิจารณาคดีของศาลรวมทั้งกำหนดให้การกระทำบางอย่างที่อาจทำให้ประชาชนผู้เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมไม่ได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมเป็นความผิด
Comparative Analysis of Contempt of Court Laws:  How Judiciaries Balance Between Competing Rights
อ่าน

Comparative Analysis of Contempt of Court Laws: How Judiciaries Balance Between Competing Rights

Contempt of court laws protect against interference with or disruption of the administration of justice. It has sanctions and/or remedies that are used to preserve the authority and credibility of the judiciary and to protect the right of citizens to a fair trial. Generally, contempt of court proceedings is distinguished between direct or indirect.
ข้อมูลและขั้นตอนการปิดกั้นเนื้อหาในสื่อโทรทัศน์ ภายใต้ยุคคสช.
อ่าน

ข้อมูลและขั้นตอนการปิดกั้นเนื้อหาในสื่อโทรทัศน์ ภายใต้ยุคคสช.

วิธีการ และวิธีคิดในการกำกับดูแลสื่อโทรทัศน์ในประเทศไทยกำลังเปลี่ยนไปภายใต้ยุครัฐบาล คสช. เริ่มตั้งแต่การออกประกาศอย่างน้อย 10 ฉบับ การตั้งคณะกรรมการพิเศษติดตามตรวจสอบเนื้อหา และการส่งเรื่องผ่าน “กสทช.” ให้ “องค์กรอิสระ” แห่งนี้ใช้อำนาจแทน อย่างน้อย 18 กรณี จาก 12 สถานี ถูกเรียกให้เข้าสู่กระบวนการกำกับเนื้อหาโดยรัฐ กรณีที่มีชื่อเสียง เช่น การสั่งปิดพีซทีวี การตรวจสอบไทยพีบีเอสเนื่องจากเสนอสกู๊ป “กลุ่มดาวดิน” และกรณีทหารบุกปิดสถานีฟ้าให้ เป็นต้น  การกำกับดูแลเนื้อหาโทรทัศน์ในยุค กสทช. ก่อนการรัฐประหาร (พ.ศ.
เงื่อนไขการสั่งเซ็นเซอร์สื่อ
อ่าน

เงื่อนไขการสั่งเซ็นเซอร์สื่อ

TRANSLATION IN NEED! To be a volunteer? click here for detail. ……………………………….. กฎหมายกำหนดเงื่อนไขการปิดกั้นสื่อแต่ละประเภทไว้ไม่เหมือนกัน โดยรวมอาจมีหลักการหลายอย่างที่สอดคล้องกันแต่หากเปรียบเทียบกฎหมายหลายฉบับจะพบว่า มีเนื้อหาบางประเภทที่สามารถเผยแพร่ในสื่อบางประเภทได้ แต่ไม่สามารถเผยแพร่ในสื่อบางประเภทได้ ขณะที่เนื้อหาบางประเภท เช่น เนื้อหาที่ “ขัดต่อความสงบเรียบร้อย” หรือ “ศีลธรรมอันดี” ถูกกำหนดให้เป็นเงื่อนไขห้ามเผยแพร่ในกฎหมายที่ควบคุมดูแลสื่อทุกประเภท