5 เหตุผล ที่ศาลรัฐธรรมนูญไม่ควรคว่ำการแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

5 เหตุผล ที่ศาลรัฐธรรมนูญไม่ควรคว่ำการแก้รัฐธรรมนูญ

เปิด 5 เหตุผล ที่ศาลรัฐธรรมนูญไม่ควรคว่ำการแก้รัฐธรรมนูญ ตามการยื่นเรื่องโดยที่ประชุมรัฐสภา ให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ เพื่อตั้งสสร. ใหม่ ตามญัตติที่ไพบูลย์ นิติตะวัน และส.ว. เป็นผู้เสนอสู่รัฐสภา
ปฏิทิน ‘อย่างเร็ว’ สู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ถ้าไม่ถูกคว่ำ
อ่าน

ปฏิทิน ‘อย่างเร็ว’ สู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ถ้าไม่ถูกคว่ำ

รัฐสภาพิจารณาแก้ไขรัฐธรรมนูญวาระที่สองเสร็จแล้ว จากนี้จะเข้าสู่การลงมติในวาระสาม ขั้นตอนต่างๆ จะเดินหน้าสู่การทำประชามติ การประกาศใช้รัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติม และจัดการเลือกตั้ง สสร ทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นในเวลาไม่นานถ้าหากศาลรัฐธรรมนูญไม่สั่งคว่ำกระบวนการเสียก่อน
รวมสรุปอภิปรายในประเด็น “สสร. ห้ามแก้หมวด 1-2”
อ่าน

รวมสรุปอภิปรายในประเด็น “สสร. ห้ามแก้หมวด 1-2”

25 ก.พ.64 รัฐสภาพิจารณา #ร่างรัฐธรรมนูญ ถกเถียงกันว่า เมื่อตั้ง สสร. มาร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จะสามารถเขียน หมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 พระมหากษัตริย์ ได้หรือไม่
แก้รัฐธรรมนูญ: สภาลงมติวาระสอง เปิดทางแก้รัฐธรรมนูญโดยอาศัยเสียง 3 ใน 5 ของรัฐสภา
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สภาลงมติวาระสอง เปิดทางแก้รัฐธรรมนูญโดยอาศัยเสียง 3 ใน 5 ของรัฐสภา

24 ก.พ. 64 รัฐสภาลงมติร่างแก้รัฐธรรมนูญวาระสอ โดยคงมาตรา 3 ซึ่งเป็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 256 ตามร่างแก้รัฐธรรมนูญที่รัฐสภาเห็นชอบในวาระหนึ่ง
แก้รัฐธรรมนูญ: สำรวจข้อเสนอ “ระบบเลือกตั้ง สสร.” ผ่านคำ แปรญัตติ
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สำรวจข้อเสนอ “ระบบเลือกตั้ง สสร.” ผ่านคำ แปรญัตติ

สาระสำคัญของร่างแก้รัฐธรรมนูญ ฉบับ กมธ. คือ การจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ มาจากการเลือกตั้งจำนวน 200 คน โดยใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
แก้รัฐธรรมนูญ: กมธ.เสียงข้างมาก ห้าม สสร. “แก้ไขหมวด 1-หมวด 2” รัฐธรรมนูญ
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: กมธ.เสียงข้างมาก ห้าม สสร. “แก้ไขหมวด 1-หมวด 2” รัฐธรรมนูญ

24-25 ก.พ. 64 รัฐสภาพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญ โดยให้มี สสร. จากการเลือกตั้ง เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ โดยมีข้อห้ามไม่ให้แก้ไขหมวด 1 บททั่วไป และหมวด 2 พระมหากษัตริย์
จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างแก้รัฐธรรมนูญ และ ร่าง พ.ร.บ. รวมกันสี่ฉบับ
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างแก้รัฐธรรมนูญ และ ร่าง พ.ร.บ. รวมกันสี่ฉบับ

24-25 ก.พ. 64 รัฐสภาจะพิจารณาร่างแก้รัฐธรรมนูญ วาระสอง รวมถึงร่างกฎหมายอีกสามฉบับ
รัฐสภามีมติเสียงข้างมากยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย มีอำนาจแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้ง สสร. หรือไม่?
อ่าน

รัฐสภามีมติเสียงข้างมากยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย มีอำนาจแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้ง สสร. หรือไม่?

9 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเห็นด้วย 366 ต่อ 315 เสียง ให้ส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยประเด็นปัญหาอำนาจและหน้าที่ของรัฐสภา ว่ามีอำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ เพื่อกำหนดบทบัญญัติว่าด้วยการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
แก้รัฐธรรมนูญ : สสร. สูตรเลือกตั้ง100%-ใช้ระบบ “รวมเขตเบอร์เดียว”
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ : สสร. สูตรเลือกตั้ง100%-ใช้ระบบ “รวมเขตเบอร์เดียว”

จากการแถลงของโฆษกคณะกรรมาธิการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม หรือ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2564 ระบุว่า กมธ.เสียงข้างมาก เห็นควรให้ สสร. มีจำนวน 200 คน และให้มาจากการเลือกตั้ง โดยใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้งแบบ "1 คน 1 เสียง" และได้มอบหมายให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาดำเนินการยกร่างบทบัญญัติให้มีความเชื่อมโยงให้ถูกต้องกับตามมติของที่ประชุม
ห้ามประชาชนไลฟ์สด ประชุม กมธ. แก้รัฐธรรมนูญ ตัดสัญญาณ-รปภ. เชิญออก
อ่าน

ห้ามประชาชนไลฟ์สด ประชุม กมธ. แก้รัฐธรรมนูญ ตัดสัญญาณ-รปภ. เชิญออก

การประชุม #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสอง เดินหน้าต่อไปในห้องประชุมที่ปิดลับ หลังเครือข่ายรณรงค์รัฐธรรมนูญ ขออนุญาตถ่ายทอดสดการประชุมจากหน้าห้อง แต่ถูกปฏิเสธ