8 ปี คสช. สภาแต่งตั้งเลือกสรรคนไปเป็น “องค์กรตรวจสอบ”
อ่าน

8 ปี คสช. สภาแต่งตั้งเลือกสรรคนไปเป็น “องค์กรตรวจสอบ”

ยุคคสช. สภาที่มาจากประชาชนก็กลายเป็นสภาแต่งตั้ง หลังปี 2562 มีสภาผู้แทนราษฎร แต่วุฒิสภา ที่ให้ความเห็นชอบบุคคลมาดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและหน่วยงานของรัฐ มีที่มาไม่ยึดโยงกับประชาชน โครงสร้างที่เป็นมากว่าแปดปี ทำให้บุคคลที่ดำรงตำแหน่งในองค์กรสำคัญล้วนต้องผ่านตะแกรงคัดกรองจากสภาแต่งตั้ง
รัฐสภารับหลักการร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองจากครม.-พรรคร่วมรัฐบาล คว่ำร่างพรรคฝ่ายค้านเรียบทุกฉบับ
อ่าน

รัฐสภารับหลักการร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองจากครม.-พรรคร่วมรัฐบาล คว่ำร่างพรรคฝ่ายค้านเรียบทุกฉบับ

25 ก.พ. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีมติ “รับหลักการ” ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองเพียงสามฉบับ คือร่างที่เสนอโดยครม. และร่างที่เสนอโดยส.ส.พรรคพลังประชารัฐสองฉบับ ขณะที่ร่างที่เสนอโดยส.ส.พรรคฝ่ายค้านสามฉบับ รัฐสภามีมติ “ไม่รับหลักการ” ทั้งหมด 
ผ่านฉลุย! รัฐสภารับหลักการร่างพ.ร.ป.เลือกตั้งส.ส. 4 ฉบับ แก้กติกาใหม่สู่การเลือกตั้งครั้งหน้า
อ่าน

ผ่านฉลุย! รัฐสภารับหลักการร่างพ.ร.ป.เลือกตั้งส.ส. 4 ฉบับ แก้กติกาใหม่สู่การเลือกตั้งครั้งหน้า

24 กุมภาพันธ์ 2565 รัฐสภามีมติ "รับหลักการ" ร่างพ.ร.ป.เลือกตั้งส.ส. สี่ฉบับ ซึ่งแก้ไขให้สอดคล้องกับการ #แก้รัฐธรรมนูญ ระบบเลือกตั้ง
จับตาวาระหนึ่งการแก้ไขร่างพ.ร.ป.เลือกตั้งส.ส. และ ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง ปี 2565
อ่าน

จับตาวาระหนึ่งการแก้ไขร่างพ.ร.ป.เลือกตั้งส.ส. และ ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง ปี 2565

24-25 ก.พ. 2565 ที่ประชุมร่วมรัฐสภามีนัดพิจารณาร่า ร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้ง ส.ส. และ ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองทั้งคู่จะเป็นกติกาสำคัญในการเลือกตั้งครั้งถัดไป                                
คณะรณรงค์แก้ไขรัฐธรรมนูญหอบ 70,500 รายชื่อยื่นสภา เสนอ #แก้รัฐธรรมนูญ ปิดสวิตช์ส.ว. เลือกนายกฯ
อ่าน

คณะรณรงค์แก้ไขรัฐธรรมนูญหอบ 70,500 รายชื่อยื่นสภา เสนอ #แก้รัฐธรรมนูญ ปิดสวิตช์ส.ว. เลือกนายกฯ

22 ก.พ. 2565 เวลา 13.30 น. ที่รัฐสภา เกียกกาย คณะรณรงค์แก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 272  ยื่นรายชื่อประชาชนที่ร่วมเข้าชื่อเสนอ #แก้รัฐธรรมนูญ ปิดสวิตช์ ส.ว.เลือกนายกฯ จำนวน 70,500 ต่อสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
จับตาฝ่ายค้านอภิปรายทั่วไป ซักฟอกรัฐบาลแบบไม่ลงมติ
อ่าน

จับตาฝ่ายค้านอภิปรายทั่วไป ซักฟอกรัฐบาลแบบไม่ลงมติ

รัฐธรรมนูญ มาตรา 152 กำหนดให้ ส.ส. จำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร สามารถเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อซักถามข้อเท็จจริงหรือเสนอแนะปัญหาต่อคณะรัฐมนตรี โดยไม่มีการลงมติได้ เป็นหนึ่งในกลไกตรวจสอบรัฐบาล โดยไม่มีการลงมติชี้ขาดสถานะนายกฯ หรือรัฐมนตรี
รวมปรากฏการณ์ “ชุมนุม-คุกคาม-ตอบโต้” การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์
อ่าน

รวมปรากฏการณ์ “ชุมนุม-คุกคาม-ตอบโต้” การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์

นับตั้งแต่วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 เป็นต้นมา มีการชุมนุมหรือจัดกิจกรรมทางการเมืองเพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์ อย่างน้อย 4 ครั้ง แต่ทั้งก่อนและหลังการจัดกิจกรรมดังกล่าว จะมีเจ้าหน้าที่รัฐเข้าไปคุกคามบรรดาประชาชนและนักกิจกรรม ซึ่งมีไม่น้อยกว่า 14 ครั้ง อาทิ เจ้าหน้าที่ตำรวจเข้าไป “ติดตามตัว” บรรดานักกิจกรรมบริเวณเคหสถานหรือที่พัก ซึ่งปฏิบัติการดังกล่าวเป็นกระบวนการที่ไม่มีอำนาจตามกฎหมายรองรับที่ชัดเจน รวมถึงมีการสอบถามข้อมูลส่วนตัวและมีการข่มขู่เพื่อไม่ให้ทำกิจกรรมทางการเมือง นอกจากนี้ กลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับการแสดงความคิดเห็นในเชิงวิพากษ์วิจารณ์สถาบันกษัตริย์ก็ค่อยๆ ขยับ เพื่
แจงปรากฏการณ์ใช้สรรพากร คุกคามภาคประชาชน-ขอตรวจภาษีแต่ล้วงลูกถึงเนื้อหา-การจ้างคน
อ่าน

แจงปรากฏการณ์ใช้สรรพากร คุกคามภาคประชาชน-ขอตรวจภาษีแต่ล้วงลูกถึงเนื้อหา-การจ้างคน

11 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13.00 น. ตัวแทนองค์กรภาคประชาชนชี้แจงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการตรวจสอบภาษีในองค์กรภาคประชาสังคมที่ทำงานด้านสิทธิมนุษยชนและวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลชุดนี้มาตลอด เป็นการตรวจสอบที่เรียกว่า ล้วงลูกทั้งที่เป็นอำนาจของสรรพากรและไม่ใช่อำนาจของสรรพากร
ได้หมาย YOUNG EP.4 คุยกับสี่นักกิจกรรมแดนใต้ “กระบี่ไม่ทน-กลุ่มนิสิตเพื่อประชาธิปไตย-ภูเก็ตปลดแอก และเฟมินิสต์ปลดแอก ภาคใต้”
อ่าน

ได้หมาย YOUNG EP.4 คุยกับสี่นักกิจกรรมแดนใต้ “กระบี่ไม่ทน-กลุ่มนิสิตเพื่อประชาธิปไตย-ภูเก็ตปลดแอก และเฟมินิสต์ปลดแอก ภาคใต้”

เมื่อพูดถึง “ภาคใต้” หลายคนอาจนึกถึงลมเย็นๆ ริมหาด การไปดำน้ำดูปะการังสวยๆ หรือแกงไตปลาอร่อยๆ แต่เมื่อขยายอาณาบริเวณเข้าไปในประเด็นการเมือง “ภาคใต้” นับเป็นพื้นที่หนึ่งในประเทศที่ขึ้นชื่อว่าเป็น “เขตแดนของฝ่ายอนุรักษ์นิยม” ส่งผลให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นปราการด่านยากที่สร้างอุปสรรคให้เหล่านักกิจกรรมที่เคลื่อนไหวทางการเมืองในพื้นที่เรื่อยมา  
แถลงข้อเท็จจริงสรรพากรเข้าตรวจสอบองค์กรเอ็นจีโอ
อ่าน

แถลงข้อเท็จจริงสรรพากรเข้าตรวจสอบองค์กรเอ็นจีโอ

ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2564องค์กรภาคประชาสังคมที่ทำงานด้านสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา อย่างน้อย 6 แห่ง ได้แก่ มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม (มอส.) มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLaw) มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน (ประชาไท) ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน (TLHR) สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (HRLA) และ iLaw ทยอยได้รับการแจ้งและการเข้าตรวจสอบการเงินโดยเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร