ตี้ ผู้อาสาขึ้นอ่านแถลงการณ์หน้าสถานทูตเยอรมนี
อ่าน

ตี้ ผู้อาสาขึ้นอ่านแถลงการณ์หน้าสถานทูตเยอรมนี

26 ตุลาคม 2563 ผู้ชุมนุมราษฎรในสภาพ “ไร้แกนนำ” รวมตัวกันที่หน้าห้างสามย่านมิตรทาวน์เพื่อเดินขบวนไปยังสถานทูตเยอรมนี เพื่อยื่นหนังสือให้ทางการเยอรมนีตรวจสอบว่า พระมหากษัตริย์ไทยได้ใช้พระราชอำนาจในการบริหารราชการแผ่นดินระหว่างทรงประทับในเขตอำนาจอธิปไตยของเยอรมนีหรือไม่ การชุมนุมครั้งนี้เกิดขึ้นในสภาวะที่ผู้มีบทบาทนำในการชุมนุม เช่น ทนายอานนท์ นำภา, รุ้ง ปนัสยา และเพนกวิน พริษฐ์ กำลังถูกคุมขังในเรือนจำหลังถูกจับกุมตั้งแต่ 15 ตุลาคม 2563 เมื่อผู้มีบทบาทนำในการปราศรัยถูกคุมขังไปหลายคน ผู้ชุมนุมราษฎรจึงปรับขบวนใหม่นัดหมายชุมนุมแบบไม่เน้นการปราศรัย เน้นการเติบโตพร้อมกั
เริ่มวันแรก! ปลดล็อคกัญชาออกจากยาเสพติด
อ่าน

เริ่มวันแรก! ปลดล็อคกัญชาออกจากยาเสพติด

9 มิถุนายน 2565 รัฐสภาได้มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 โดยมีสาระสำคัญคือ การถอดกัญชา ออกจากบัญชียาเสพติด กล่าวคือ ในวันที่ 9 มิถุนายน 2565 คือ การประกาศ "เสรีทางกัญชา" อย่างไม่มีข้อจำกัด
สภายังไม่ได้ลงมติ #สมรสเท่าเทียม หลังพิจารณาร่างพ.ร.บ.กัญชา-กัญชง กว่า 6 ชั่วโมง
อ่าน

สภายังไม่ได้ลงมติ #สมรสเท่าเทียม หลังพิจารณาร่างพ.ร.บ.กัญชา-กัญชง กว่า 6 ชั่วโมง

8 มิ.ย. 2565 เดิมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างกฎหมายที่ต้องลงมติ “รับหลักการ” ในวาระหนึ่ง สามฉบับ ได้แก่ 1) ร่างพ.ร.บ.กัญชา กัญชง 2) ร่างพ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต #สุราก้าวหน้า และ 3) ร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม แต่สภาพิจารณาแล้วเสร็จแค่สองฉบับแรก สมรสเท่าเทียมจึงต้องลุ้นต่อ 15 มิ.ย. 2565
สายดื่มเตรียมเฮ! สภารับหลักการ #สุราก้าวหน้า เปิดโอกาสให้ผู้ผลิตรายย่อย
อ่าน

สายดื่มเตรียมเฮ! สภารับหลักการ #สุราก้าวหน้า เปิดโอกาสให้ผู้ผลิตรายย่อย

8 มิถุนายน 2565 สภาผู้แทนราษฎร มีมติ “รับหลักการ” ร่างพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ร่างพ.ร.บ. #สุราก้าวหน้า ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 178 เสียง ไม่เห็นด้วย 138 เสียง งดออกเสียง 15 เสียง 
หน่วยงานรัฐไหนบ้าง? เห็นด้วยกับการแก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม
อ่าน

หน่วยงานรัฐไหนบ้าง? เห็นด้วยกับการแก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม

เมื่อ 9 ก.พ. 2565 ครม. อุ้มร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม ไปศึกษาก่อนที่สภาจะลงมติรับหลักการ โดยจัดรับฟังความเห็นจากหน่วยงานรัฐ หน่วยงานรัฐแปดหน่วยงานที่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายดังกล่าว ขณะที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้ความเห็นต่อครม. ว่าไม่สมควรรับหลักการ
รัฐสภานัดถกร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ หลังพระมหากษัตริย์ไม่ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน
อ่าน

รัฐสภานัดถกร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ หลังพระมหากษัตริย์ไม่ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน

9-10 มิ.ย. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีนัดปรึกษาร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ซึ่งนายกฯ ได้นำร่างขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อ 31 มกราคม 2565 แต่พระมหากษัตริย์ไม่ได้ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน และไม่ได้พระราชทานร่างกฎหมายคืนกลับมา
จับตา #ประชุมสภา พิจารณากฎหมายน่าสนใจหลายฉบับ
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา พิจารณากฎหมายน่าสนใจหลายฉบับ

 6-10 มิ.ย. 2565 ฝ่ายนิติบัญญัติมีกำหนดนัดพิจารณาร่างกฎหมายที่น่าจับตาหลายฉบับ อาทิ ร่างพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต #สุราก้าวหน้า ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ #สมรสเท่าเทียม และร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งแก้ไขให้สอดคล้องกับการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องระบบเลือกตั้ง  
สภาผู้แทนราษฎร รับหลักการร่างพ.ร.บ. #งบประมาณปี66 วงเงิน 3.185 ล้านล้านบาท
อ่าน

สภาผู้แทนราษฎร รับหลักการร่างพ.ร.บ. #งบประมาณปี66 วงเงิน 3.185 ล้านล้านบาท

3 มิถุนายน 2565 เวลา 01.09 น. สภาผู้แทนราษฎรลงมติ “รับหลักการ” ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ร่างพ.ร.บ.งบประมาณปี 2566) ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 278 เสียง ไม่เห็นด้วย 194 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง