49869674897_f4eef7f033_o
อ่าน

รับมือโควิด 19 แบบไทยๆ ด้วยการออกกฎและ “ข่มขู่”

ที่ผ่านมาระหว่างการต่อสู้กับโรคโควิด 19 ด้วยกฎหมายและเครื่องมือใหม่ๆ แนวทางที่บุคลากรของภาครัฐปฏิบัติอย่างต่อเนื่องกัน คือ การแสดงออกในลักษณะ "ข่มขู่" หรือสร้างความหวาดกลัวให้แก่ประชาชน การข่มขู่อาจมาในลักษณะคำพูดที่สร้างความไม่มั่นคงให้แก่หน้าที่การงาน หรือการเตือนว่า การกระทำที่สวนทางกับรัฐอาจนำมาซึ่งการดำเนินคดีตามกฎหมาย
49756758778_d25b8c1d0a_o
อ่าน

ความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ต้องเผยแพร่ “ข้อมูลเท็จ” การแชร์ของ “แหม่มโพธิ์ดำ” ถ้าไม่มีเจตนาทุจริต ก็ไม่ผิด

จากข่าวที่เจ้าหน้า…
49586821237_bff7d550f6_c
อ่าน

ย้อนดูเทรนด์การให้-ไม่ให้ประกันตัวผู้วิจารณ์พระมหากษัตริย์ฯ ของศาลไทย

ระหว่างการรัฐประหาร 2557 การใช้มาตรา 112 และการไม่ให้ประกันตัวเป็นเรื่องที่เห็นบ่อยครั้ง ก่อนจะผ่อนคลายในช่วงปี 2561-2562 จากนั้นกลับมาสู่บรรยากาศแห่งความหวาดกลัวอีกครั้งในปี 2563
Niranam
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(3) เวอร์ชั่นใหม่ความผิดหมิ่นกษัตริย์ฯ แทนที่ ม.112

มาตรา 14(3) ถูกตำรวจนำมาตั้งข้อกล่าวหาคดีเพียงข้อหาเดียว โดยไม่ตั้งข้อหาตามหมวดความมั่นคงหรือหมวดก่อการร้ายในประมวลกฎหมายอาญาประกอบด้วย ทำให้มาตรา 14(3) มีสถานะขึ้นมาใช้แทนที่มาตรา 112 เดิมที่ช่วงหลังถูกใช้น้อยลง
26-2557
อ่าน

มรดก คสช. ที่ยังเหลืออยู่ สั่งปิดเว็บไซต์-เข้าถึงข้อมูลไม่ต้องขอหมายศาล

ประกาศ คสช. 26/2557 ยังไม่ถูกยกเลิก คสช.จงใจคงอำนาจนี้ไว้ให้มีคณะทำงานตรวจสอบข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ต และสั่งปิดกั้นเว็บไซต์ได้ โดยไม่ต้องมีกระบวนการตรวจสอบโดยอำนาจศาล
28574278904_b36d162a6f_z
อ่าน

A false dawn: No sign of progress despite ISOC’s dropping of charges against 3 HRDs

On May 17, 2016, the military’s Internal Security Operations Command (ISOC) Region 4, which is responsible for national security operations in the southern border, filed a criminal complaint in Yala against human rights defenders (HRDs)
17352221_10212606479504949_7193661068408004131_n
อ่าน

กรณีตบหน้าสู่ฆาตฯวิสามัญ: ความรุนแรงที่แฝงเร้นลอยนวล

หลังดอยหลวงเชียงดาวอันสวยงาม ยังมีกรณีการใช้ความรุนแรงต่อกลุ่มชาติพันธ์เสมอมา ซึ่งชัยภูมิ ป่าแส ไม่ใช่กรณีแรกและอาจจะไม่ใช่กรณีสุดท้าย
silence
อ่าน

#พรบคอม แก้ไขใหม่แล้ว คดี “ปิดปาก” มีแต่แนวโน้มจะเพิ่มขึ้น

ข้อเรียกร้องให้แก้ไขมาตรา 14(1) ของพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ได้รับการตอบสนองโดยสนช. แต่การแก้ไขกฎหมาย ในปี 2559 กลับดูเหมือนยังแก้ปัญหาที่กฎหมายถูกใช้เป็นเครื่องมือ “ปิดปาก” การตรวจสอบ ไม่ได้มากนัก แถมยังอาจสร้างปัญหาให้หนักขึ้นกว่าเก่าก็เป็นได้ พอจะเรียกได้ว่า การแก้ไขมาตรา 14(1) ในครั้งนี้ ดีขึ้น 3 ประเด็น แย่ลง 1 ประเด็น และ “เล่นลิเก” อีก 1 ประเด็น
comact000
อ่าน

ตารางคดี “ปิดปาก” นักเคลื่อนไหว ด้วยพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1)

ตารางคดี “ปิดปาก” นักเคลื่อนไหว ด้วย พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1)