อดอาหารเพื่อขอคืนสิทธิประกันตัว
อ่าน

อดอาหารเพื่อขอคืนสิทธิประกันตัว

ในวันนัดพร้อมของคดีชุมนุม #19กันยาทวงคืนอำนาจราษฎร เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2564 ที่ห้องพิจารณาคดี ศาลอาญา เพนกวิน จำเลยในข้อหามาตรา112 ประกาศว่า จะอดอาหารประท้วงจนกว่าศาลจะให้สิทธิในการประกันตัว
ประมวลการสลายการชุมนุมรีเด็ม #จำกัดอำนาจสถาบันกษัตริย์
อ่าน

ประมวลการสลายการชุมนุมรีเด็ม #จำกัดอำนาจสถาบันกษัตริย์

ประมวลเหตุการณ์การสลายการชุมนุม #จำกัดอำนาจสถาบันกษัตริย์ #REDEM เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2564 บริเวณสนามหลวง
วิ่งไล่ลุงบุรีรัมย์กับปัญหาข้อกฎหมายที่รอการวินิจฉัย
อ่าน

วิ่งไล่ลุงบุรีรัมย์กับปัญหาข้อกฎหมายที่รอการวินิจฉัย

ในสภาวะที่พ.ร.บ.ชุมนุมฯกำลัง”จำศีล”ภายใต้การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน คดีไม่แจ้งการชุมนุมตามพ.ร.บ.ชุมนุมฯที่เกิดจากการจัดกิจกรรมวิ่งไล่ลุงช่วงต้นปี 2563 ทั้งที่กรุงเทพมหานคร เชียงราย นครพนม นครสวรรค์และบุรีรัมย์ไม่ได้ “จำศีล” ไปด้วยหากแต่ดำเนินไปอย่างเงียบๆ
การสลายการชุมนุมและการประกอบสร้างความรุนแรง
อ่าน

การสลายการชุมนุมและการประกอบสร้างความรุนแรง

1 มกราคม- 15 มีนาคม 2564 มีการชุมนุมเกิดขึ้นไม่น้อยกว่า 160 ครั้ง   โดยวัตถุประสงค์ส่วนใหญ่คือ การเรียกร้องเรื่องการปล่อยตัวนักกิจกรรมทางเมืองและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโควิด 19 
การไต่ระดับความโกรธและการเผชิญหน้าของผู้ชุมนุมราษฎรและรัฐ
อ่าน

การไต่ระดับความโกรธและการเผชิญหน้าของผู้ชุมนุมราษฎรและรัฐ

ย้อนดูปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในการชุมนุมในปี 2564 ที่มาที่ไปแห่งความโกรธและการตอบโต้ที่เกิดขึ้นในการชุมนุม
“เราช่วยรัฐ แล้วรัฐช่วยอะไร?” | ส่องข้อเรียกร้อง ‘ปัญหาปากท้อง’ จาก 6 กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรการโควิด-19
อ่าน

“เราช่วยรัฐ แล้วรัฐช่วยอะไร?” | ส่องข้อเรียกร้อง ‘ปัญหาปากท้อง’ จาก 6 กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรการโควิด-19

ตั้งแต่เดือนมกราคม 2564 เรื่อยมามีกลุ่มสาขาอาชีพต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการโควิด-19 ออกมาส่งเสียงเรียกร้องการเยียวยาแก้ปัญหาจากภาครัฐเป็นจำนวนมาก
5 ประเด็นการเมืองที่น่าจับตาจากแฮชแท็ก #Save บนทวิตเตอร์
อ่าน

5 ประเด็นการเมืองที่น่าจับตาจากแฮชแท็ก #Save บนทวิตเตอร์

ปี 2562-2563 พบว่า มีผู้ใช้ทวิตเตอร์ทวีตข้อความพร้อมติดแฮชแท็กที่มีข้อความคำว่า #Save อย่างน้อย 101 เรื่อง ส่วนใหญประกอบด้วยเรื่องของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่กำลังเป็นกระแสในขณะนั้น อาทิ แฮชแท็ก #Saveวันเฉลิม
เพศสภาพ/เพศวิถี เครื่องมือก่อความรุนแรงบนพื้นที่ออนไลน์ต่อนักการเมือง/นักกิจกรรมหญิง
อ่าน

เพศสภาพ/เพศวิถี เครื่องมือก่อความรุนแรงบนพื้นที่ออนไลน์ต่อนักการเมือง/นักกิจกรรมหญิง

รศ.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้นำเสนอรายงานการวิจัยเรื่อง “เกลียด/โกรธ/กลัว: ความรุนแรงทางเพศ/เพศสภาพในพื้นที่ออนไลน์” ระบุว่า จากผลการศึกษา “รัฐ” เป็นส่วนหนึ่งในการใช้ความรุนแรงออนไลน์ต่อนักการเมืองเพศหญิงด้วย ผ่านการใช้สื่อประณามหรือประจานนักการเมืองหญิง