NHRCT TN
อ่าน

เปิดรายชื่อผู้สมัครเป็นกรรมการสิทธิฯ พบชื่ออดีต สนช., สปท. ‘สุเทพ’ ขอฝากหนึ่งชื่อ

การสรรหาผู้ที่จะมาเป็นคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ชุดที่สี่ยังลุ่มๆ ดอนๆ เมื่อเปิดรับสมัครใหม่และเห็นรายชื่อผู้สมัครแล้ว พบคนหน้าเก่าที่อยู่กับแวดวงองค์กรอิสระ และยังมีหลายคนที่เกี่ยวโยงกับเครือข่ายของ คสช. ไอลอว์จึงอยากชวนจับตามองกระบวนการคัดเลือก กสม. ที่กำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้
ส.ว. กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: ส.ว.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐและองค์กรอิสระ

ตามรัฐธรรมนูญ 2560 สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ชุดแรก จำนวน 250 คน ทั้งหมดถูกเลือกและแต่งตั้งโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และมีวาระในการดำรงตำแหน่งยาวนานถึงห้าปี มาดูกันว่า ตั้งแต่เปิดประชุมวุฒิสภา วันที่ 24 พฤษภาคม 2562 จนถึงขณะนี้ที่ระยะเวลาผ่านไปเกือบ 2 ปีของการดำรงตำแหน่ง ส.ว.ให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรใดบ้าง และเห็นชอบใครไปแล้วบ้าง
การยุบพรรค
อ่าน

เลือกตั้ง 62: โทษตัดสิทธิทางการเมืองกรรมการบริหารพรรคการเมือง มรดกรัฐประหาร 2549

ย้อนดูพัฒนาการของโทษการยุบพรรคนับตั้งแต่หลังการรัฐประหาร 2549 เดิมทีหากพรรคการเมืองกระทำผิดตามกฎหมายระบุมีโทษยุบพรรคและห้ามจัดตั้งพรรคขึ้นใหม่ภายในห้าปี รัฐประหาร 2549 ได้เพิ่มเงื่อนไขตัดสิทธิทางการเมืองห้าปีเพิ่มเข้ามา จนกระทั่งรัฐประหาร 2557 ที่กฎหมายเปิดช่องให้ศาลรัฐธรรมนูญใช้ดุลพินิจกำหนดเวลาการตัดสิทธิทางการเมือง
31623584381_9ff04c81f2_b
อ่าน

สมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย เชิญชวนประชาชนลงชื่อกล่าวหา ป.ป.ช.

สมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย เชิญชวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันลงชื่อ 20,000 รายชื่อ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 236 และ 237 กล่าวหาและดำเนินการเอาผิด ป.ป.ช. กรณีตรวจสอบทรัพย์สิน พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ
อ่าน

สี่ปี สนช.: เลือก 60 คนนั่ง 13 องค์กรตรวจสอบ ช่วย คสช. ยึดประเทศอย่างช้าๆ

สมาชิก สนช. มาจากการแต่งตั้งโดย คสช. ดังนั้นจึงเป็นตัวแทนของฝ่ายบริหารที่มาทำหน้าที่คัดเลือกคนเข้าไปอยู่ในองค์กรอิสระที่ควรจะต้องทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจของ คสช. สี่ปีที่ผ่านมา สนช. ได้ลงมติเห็นชอบเพื่อคัดเลือกคนที่ คสช. ไว้ใจเข้าไปดำรงตำแหน่งสำคัญๆ 60 ตำแหน่ง
610610-seminar
อ่าน

กรธ.-สนช. เชื่อ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญใหม่มีความกล้าหาญและคุณธรรม

ในวงเสวนา ตัวแทนจาก กรธ. และ สนช. มีความเชื่อมั่นในการทำงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญใหม่ เพราะมีการเพิ่มอำนาจ และการกำหนดที่มาและคุณสมบัติให้เข้มข้นยิ่งขึ้น ส่วนนักวิชาการชี้ว่า ประเด็นการเลือกเซ็ตซีโร่บางองค์กรจะทำให้ถูกครหา และการเขียนคุณสมบัติว่าต้องซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์อาจจะทำให้ตกเป็นเครื่องมือทางการเมือง
อ่าน

ยุค คสช. แก้กฎหมาย ป.ป.ช. 3 รอบ ก่อนรื้อใหม่ทั้งฉบับ ย้อนกลับไปกลับมา

เพื่อปฏิรูปการปราบปรามทุจริต คสช. แก้กฎหมาย ป.ป.ช. ไปสามรอบ รอบแรกโดยออกเป็นประกาศ คสช. ส่วนอีกสองรอบผ่านทาง สนช. แต่สุดท้ายเมื่อปี 2560 ก็ต้องเขียนกฎหมาย ป.ป.ช. กันใหม่ทั้งฉบับตามรัฐธรรมนูญใหม่ สิ่งที่แก้ไขกันไปบางอย่างก็ยังเหลืออยู่ แต่บางอย่างกลับหายไปเลย
อ่าน

กฎหมาย กสม. ฉบับใหม่ เปลี่ยนองค์กรตรวจสอบเป็นกระบอกเสียงรัฐ

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นองค์กรอิสระที่มุ่งหวังให้มีกลไกอิสระ เพื่อทำหน้าที่ส่งเสริม คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิเสรีภาพของประชาชนให้มีผลปรากฏเป็นจริง แต่เมื่อเปลี่ยนรัฐธรรมนูญใหม่เป็นรัฐธรรมนูญปี 2560 คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ต้องตรากฎหมายลูกอย่าง พ.ร.ป.กสม. ขึ้นมา และเปลี่ยนให้องค์กรตรวจสอบเป็นกระบอกเสียงรัฐ
Meechai on Human Rights Commission Bill
อ่าน

มีชัย แจงกฎหมายลูก “กสม.” ให้ช่วยแก้ต่างให้ประเทศ เพราะมุมมองแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน

กรธ.เปิดรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยมีชัย ฤุชพันธ์ุ ประธานกรธ. กล่าวถึงปัญหาสำคัญของกสม. ที่ร่างพ.ร.ป.ฉบับใหม่จะพัฒนาให้ดีขึ้น และกล่าวถึงประเด็นในร่างรัฐธรรมนูญ ที่ให้กสม.ออกมาชี้แชงกรณีมีรายงานที่ไม่จริงเกี่ยวกับประเทศไทยว่าไม่ใช่ทำหน้าที่โฆษกรัฐบาล