รู้จัก ป.ย.ป. ทำหน้าที่ปฏิรูป ยุทธศาสตร์ชาติ และปรองดอง
อ่าน

รู้จัก ป.ย.ป. ทำหน้าที่ปฏิรูป ยุทธศาสตร์ชาติ และปรองดอง

ต้นเดือน ม.ค.2560 หัวหน้าคสช. ใช้อำนาจมาตรา 44 ประกาศคำสั่งคสช. 3/2560 เรื่อง การขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง โดยรมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ปี 2560 จะเป็นปีของการปฏิรูปการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติใน 20 ปีและการสร้างความปรองดองต้องนำไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 
ปฏิทินอย่างช้า: เตรียมจับตากฎหมายหลังรัฐธรรมนูญประกาศใช้
อ่าน

ปฏิทินอย่างช้า: เตรียมจับตากฎหมายหลังรัฐธรรมนูญประกาศใช้

ภายหลังการแก้ไขรัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ 2557 ทำให้ระยะเวลาของการออกกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญใหม่อาจเลื่อนออกไปยาวนานขึ้น อย่างมากที่สุดคือ เลื่อนออกไป “4 เดือน” แต่ทว่า ก็ยังมีกฎหมายหลายฉบับที่จะเผยโฉมออกมาในปีนี้ เช่น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูป เป็นต้น
ร่างรัฐธรรมนูญผ่านแล้ว มีหลายประเด็นต้องจับตาต่อ
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญผ่านแล้ว มีหลายประเด็นต้องจับตาต่อ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญผ่านประชามติ ก็เปรียบเสมือนการ "เซ็นเช็คเปล่า" ให้กับรัฐบาล คสช. และ กรธ. เพื่อเขียนกฎกติกาต่างๆ ที่ต้องใช้ประกอบรัฐธรรมนูญ อย่างเช่น กฎหมายพรรคการเมือง ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมายการปฏิรูป ฯลฯ ดังนั้น ประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจตัวจริงควรต้องจับตาและมีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆ ให้ได้มากที่สุด
iLaw ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยความหวังเพื่อวันที่ดีกว่า
อ่าน

iLaw ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยความหวังเพื่อวันที่ดีกว่า

หากร่างรัฐธรรมนูญผ่านการทำประชามติจะมีผลกับคนทั้งประเทศรวมถึงคนรุ่นหลังที่ไม่มีโอกาสร่วมตัดสินใจในวันนี้ด้วย โดยประเด็นที่ยังเป็นปัญหาจะแทบไม่มีโอกาสแก้ไขได้ กติกาที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองความต้องการเฉพาะหน้าเช่นนี้มีแต่จะนำไปสู่ความขัดแย้ง การทุจริตและความขัดแย้งทางการเมืองจะยังมีอยู่ต่อไปและมีแต่แนวโน้มจะรุนแรงมากยิ่งขึ้น
เปิดร่าง พ.ร.บ.ยุทธศาสตร์ชาติ เป็น คปป. ซ่อนรูปหรือไม่?
อ่าน

เปิดร่าง พ.ร.บ.ยุทธศาสตร์ชาติ เป็น คปป. ซ่อนรูปหรือไม่?

คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกำลังเป็นที่จับตามอง เพราะเป็นหน่วยงานใหม่ที่จะมาวางกรอบการพัฒนาประเทศระยะยาวนานถึง 20 ปี บ้างก็ว่ามีความคล้ายคลึงกับคณะกรรมการยุทธศาสตร์การปฏิรูปและการปรองดองแห่งชาติ (คปป.) ที่อยู่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับบวรศักดิ์ เพราะเป็นการตั้งคณะกรรมการที่มาจากข้าราชการเป็นส่วนใหญ่ และมีอำนาจหน้าที่เหนือคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา
ฟังเสียงปฏิรูป: เวียงรัฐ เนติโพธิ์ มองข้อเสนอสปช.เรื่องปฏิรูปท้องถิ่น “ประชาธิปไตยที่เพิ่งเริ่มคลาน”
อ่าน

ฟังเสียงปฏิรูป: เวียงรัฐ เนติโพธิ์ มองข้อเสนอสปช.เรื่องปฏิรูปท้องถิ่น “ประชาธิปไตยที่เพิ่งเริ่มคลาน”

ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิ่นของ สปช. มีสาระสำคัญคือการกระจายอำนาจและโอนถ่ายภารกิจไปยังท้องถิ่น แต่เมื่อพิจารณาในรายละเอียด กลับพบข้อเสนอที่ย้อนแย้งต่อหลักการกระจายอำนาจ เช่น การเพิ่มบทบาทกำกับดูแลท้องถิ่น จึงชวนให้สงสัยว่า ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิ่นของ สปช. มีทิศทางอย่างไรกันแน่
“ไฮไลท์” ข้อเสนอ ปฎิรูปประเทศ ของสภาปฎิรูปแห่งชาติ
อ่าน

“ไฮไลท์” ข้อเสนอ ปฎิรูปประเทศ ของสภาปฎิรูปแห่งชาติ

ภายใต้กระแส “ปฎิรูปก่อนเลือกตั้ง” ทำให้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ ต้องสร้างโรงงานแห่งการปฎิรูปขึ้น ในนาม สภาปฎิรูปแห่งชาติ (สปช.) อย่างไรก็ดี ผลงานของ สปช. กลับไม่ได้ถูกหยิบยกมาเป็นประเด็นมากนัก ทั้งที่ มีข้อเสนอจำนวนมาก ดังนั้นเราจึงขอ “ไฮไลท์” ผลงานให้สังคมได้พิจารณากัน
มาตรา183 กลับไม่ได้ ไปไม่ถึง
อ่าน

มาตรา183 กลับไม่ได้ ไปไม่ถึง

ก่อนที่สภาปฏิรูปแห่งชาติจะลงมติรับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (เอฟทีเอ ว็อทช์) มีข้อสังเกตและไม่เห็นด้วยต่อมาตรา 183 ว่าด้วยการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ เพราะเห็นว่าไม่อาจสร้างกระบวนการตรวจสอบถ่วงดุล การมีส่วนร่วม ระหว่างฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และภาคประชาสังคม ซึ่งเป็นหลักการสำคัญข้อหนึ่งในระบอบการเมืองประชาธิปไตย
เสวนา ทีดีอาร์ไอชี้ต้องปฎิรูปหลายด้าน ขณะที่ประชานิยมอยู่กับประชาธิปไตยได้ไม่มีปัญหา
อ่าน

เสวนา ทีดีอาร์ไอชี้ต้องปฎิรูปหลายด้าน ขณะที่ประชานิยมอยู่กับประชาธิปไตยได้ไม่มีปัญหา

สังคมไทยส่วนหนึ่งเริ่มตื่นตัวกับกระเเสปฎิรูปภายใต้รัฐบาลทหาร ซึ่งมีเรื่องต้องคุยทั้งการปฏิรูปการศึกษา การกระจายอำนาจ การสร้างองค์กรตรวจสอบที่เป็นอิสระ สื่อมวลชน ฯลฯ
อยากทำการศึกษาในระบบให้เป็นทางเลือกหนึ่ง
อ่าน

อยากทำการศึกษาในระบบให้เป็นทางเลือกหนึ่ง

ประเด็นความตกต่ำของการศึกษาไทยเป็นที่ถกเถียงซ้ำแล้วซ้ำเล่า iLaw สนทนากับ ลำยอง เตียสกุล และ จิรพันธ์ สำเริงเรือง สองสาวใจดีจากเครือข่ายการศึกษาเพื่อเด็ก