Recap : ปักธงร่างรัฐธรรมนูญใหม่โดยตัวแทนประชาชน “ความฝันที่ไม่ไกลเกินเอื้อม”
อ่าน

Recap : ปักธงร่างรัฐธรรมนูญใหม่โดยตัวแทนประชาชน “ความฝันที่ไม่ไกลเกินเอื้อม”

17 ต.ค. 2565 เครือข่ายรามคำแหงเพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนา รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน “ความฝันที่ไม่ไกลเกินเอื้อม” พูดคุยถึงถึงปัญหาของรัฐธรรมนูญ 2560 และการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสี่ครั้งที่ผ่านมา มองไปอนาคตข้างหน้าถึงการปักธงจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. ที่มาจากการเลือกตั้ง 
แคมเปญล่า 50,000 ชื่อ เสนอครม.ทำประชามติเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
อ่าน

แคมเปญล่า 50,000 ชื่อ เสนอครม.ทำประชามติเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

พรรคก้าวไกลใช้กลไกตามพ.ร.บ. ประชามติ ล่ารายชื่อประชาชน 50,000 ชื่อเพื่อเสนอครม. ให้ทำประชามติว่าต้องการให้มีการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสสร. ที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนหรือไม่
รวมคำอภิปราย ส.ว. ต่อข้อเสนอ #ตัดอำนาจสว ยกเลิก272
อ่าน

รวมคำอภิปราย ส.ว. ต่อข้อเสนอ #ตัดอำนาจสว ยกเลิก272

รวมคำอภิปราย ส.ว. ในศึกแก้รัฐธรรมนูญ SEASON 4 ต่อข้อเสนอ #ตัดอำนาจสว ยกเลิกมาตรา 272 ทั้ง วันชัย สอนศิริ, กิตติศักดิ์ รัตนวราหะ, เฉลา พวงมาลัย, เจตน์ ศิรธรานนท์, ถวิล เปลี่ยนศรี และมณเฑียร บุญตัน บางคนพูดชัดว่า ยอมตัดอำนาจตัวเอง แต่หลายคนให้เหตุผลลอยๆ ปล่อยให้ตีความ
ข้อเสนอคณะก้าวหน้า ปลดล็อกท้องถิ่น จัดงบ 50% ทำประชามติเลิกผู้ว่าฯ
อ่าน

ข้อเสนอคณะก้าวหน้า ปลดล็อกท้องถิ่น จัดงบ 50% ทำประชามติเลิกผู้ว่าฯ

คณะก้าวหน้า เปิดตัวข้อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญ ชื่อว่า “ปลดล็อคท้องถิ่น” เปิดให้ประชาชนที่เห็นด้วยเข้าชื่อกันให้ครบ 50,000 ชื่อ เพื่อนำเสนอต่อรัฐสภา
เสวนา 5 ปีรัฐธรรมนูญ สิทธิเสรีภาพถดถอยใต้โครงสร้างรัฐรวมศูนย์
อ่าน

เสวนา 5 ปีรัฐธรรมนูญ สิทธิเสรีภาพถดถอยใต้โครงสร้างรัฐรวมศูนย์

6 เมษายน 2565 งานเสวนาในหัวข้อ “5 ปี รัฐธรรมนูญ 60 : สิทธิเสรีภาพที่หายไป ภายใต้โครงสร้างรัฐใหม่ที่รวมศูนย์”
บรรยง-วีระศักดิ์-ธำรงศักดิ์ ขึ้นเวทีก้าวหน้า หนุนกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น
อ่าน

บรรยง-วีระศักดิ์-ธำรงศักดิ์ ขึ้นเวทีก้าวหน้า หนุนกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น

1 เมษายน 2565 คณะก้าวหน้าจัดเวที “ผ่าทางตัน 130 ปี รัฐราชการรวมศูนย์” ส่วนหนึ่งของแคมเปญล่ารายชื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ “คนละชื่อ ปลดล็อคท้องถิ่น”
สรุปความเคลื่อนไหวศึกแก้รัฐธรรมนูญไตรภาคตลอดปี 2564
อ่าน

สรุปความเคลื่อนไหวศึกแก้รัฐธรรมนูญไตรภาคตลอดปี 2564

จากการติดตามความเคลื่อนไหวของสภาโดยไอลอว์ ความพยายามแก้ไขรัฐธรรมนูญตลอดปี 2564 ยิ่งแสดงให้เห็นว่ากลไกการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) วางไว้นั้น “ยากลำบาก” เพียงใด ในปีนี้ มีเพียงหนึ่งร่างที่สามารถผ่านด่านวุฒิสภาจนสามารถแก้ไขได้สำเร็จ ซึ่งก็คือการแก้ไขระบบเลือกตั้ง
สรุป “ระบบเลือกตั้งบัตรสองใบ” ฉบับ กมธ.ร่างแก้รัฐธรรมนูญฯ
อ่าน

สรุป “ระบบเลือกตั้งบัตรสองใบ” ฉบับ กมธ.ร่างแก้รัฐธรรมนูญฯ

ชวนทำความรู้จักรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขให้กลับไปคล้ายกับรัฐธรรมนูญ 2540 คือให้มีบัตรเลือกตั้งสองใบที่แยก ส.ส.เขต และบัญชีรายชื่อออกจากกัน รวมทั้งปรับสัดส่วนให้มี ส.ส.เขต 400 คน และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ 100 คน
จับตาแก้ระบบเลือกตั้ง ไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของ ส.ส. บัญชีรายชื่อส่อเกิด “เบี้ยหัวแตก”
อ่าน

จับตาแก้ระบบเลือกตั้ง ไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของ ส.ส. บัญชีรายชื่อส่อเกิด “เบี้ยหัวแตก”

แม้ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องระบบเลือกตั้งที่พรรคประชาธิปัตย์เป็นผู้เสนอจะคล้ายคลึงกับระบบเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญ 2540 แต่ความแตกต่างคือไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของพรรคที่จะได้ ส.ส.บัญชีรายชื่อ การไม่กำหนดเกณฑ์ขึ้นต่ำนี้จะทำให้พรรคขนาดเล็กมีโอกาสเข้าสู่สภามากขึ้นแต่ก็จะเกิด “เบี้ยหัวแตก”
เกมส์แก้ระบบเลือกตั้ง สภาแบ่ง 2 ฝ่าย ไม่แบ่งฝ่ายค้าน-ฝ่ายรัฐบาล
อ่าน

เกมส์แก้ระบบเลือกตั้ง สภาแบ่ง 2 ฝ่าย ไม่แบ่งฝ่ายค้าน-ฝ่ายรัฐบาล

24 สิงหาคม 2564 การแก้ไขรัฐธรรมนูญว่าด้วยระบบเลือกตั้งใกล้จะเข้าสู่การพิจารณาเห็นชอบในวาระที่สอง ซึ่งเป็นการพิจารณาให้ความเห็นร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญแบบทีละมาตรา และเมื่อรัฐสภาพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญในวาระสองแล้วเสร็จให้รอไว้ 15 วัน จากนั้นถึงพิจารณร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญในวาระที่สามต่อได้ ทั้งนี้ ถ้าหากร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมรัฐสภา ก็ถือได้ว่าเป็นความสำเร็จครั้งแรกของรัฐสภาในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ หลังจากถูกคว่ำจากวุฒิสภา และถูกเตะถ่วงจากฟากรัฐบาลอยู่หลายรอบ