ก้าวไกล-เพื่อไทย-ประชาชาติ ลง MOU พร้อมผลักร่างรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ก้าวไกล-เพื่อไทย-ประชาชาติ ลง MOU พร้อมผลักร่างรัฐธรรมนูญใหม่

8 กรกฎาคม 2566 เครือข่ายรณรงค์รัฐธรรมนูญ (Constitution Advocacy Alliance) จัดกิจกรรม “Con Next: ออกจากกะลาไปหารัฐธรรมนูญใหม่” มีการเชิญตัวแทนจากพรรคการเมืองเข้าร่วมแสดงความเห็นต่อบทบาทของรัฐสภาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และปิดท้ายด้วยการทำบันทึกข้อตกลงร่วมต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยประชาชน
2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”
อ่าน

2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”

หนทางสู่การมีรัฐธรรมนูญจากประชาชนต้องผ่านประชามติอย่างน้อย 2 ครั้ง ผ่านคูหาเลือกสว.​ และการเลือกตั้งส.ส.ร. ที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประเทศนี้ ซึ่งประเมินได้ว่าต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2-3 ปี ถ้าไม่มีเหตุขัดขวางระหว่างทาง
เลือกตั้ง 66: 3 ข้อเสนอ ก้าวแรกพาประเทศไทยกลับสู่ประชาธิปไตยเต็มใบ
อ่าน

เลือกตั้ง 66: 3 ข้อเสนอ ก้าวแรกพาประเทศไทยกลับสู่ประชาธิปไตยเต็มใบ

แม้ปัจจุบันกติกาทางการเมืองจะยังไม่ปกติ แต่เราก็สามารถสร้างการเมืองที่ชอบธรรมและเป็นที่ยอมรับของประชาชนได้ โดยเริ่มจากการมีรัฐบาลและนายกรัฐมนตรีที่มีที่มาและคุณสมบัติตามครรลองประชาธิปไตย เพื่อก้าวแรกในการพาประเทศไทยกลับสู่ “ประชาธิปไตยเต็มใบ” ผ่านสามข้อเสนอ
ไทยสร้างไทยล่ารายชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ เลือกตั้ง สสร. ทำรัฐธรรมนูญใหม่ ห้ามแตะหมวด 1 หมวด 2
อ่าน

ไทยสร้างไทยล่ารายชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ เลือกตั้ง สสร. ทำรัฐธรรมนูญใหม่ ห้ามแตะหมวด 1 หมวด 2

พรรคไทยสร้างไทย ทำร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ ชวนประชาชน 50,000 คน เข้าชื่อเสนอให้รัฐสภาพิจารณาต่อไป โดยร่างของไทยสร้างไทยต้องการเปลี่ยนแปลงวิธีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ให้การพิจารณาในวาระที่หนึ่งและวาระที่สาม ต้องใช้เสียงเห็นชอบไม่น้อยกว่า "3 ใน 5" ของจำนวน ส.ส. และ ส.ว. และต้องการเพิ่มหมวดการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดย สสร. ที่มาจากการเลือกตั้งโดยมีเงื่อนไขว่า สสร ห้ามแก้ไขหมวดที่ 1 และ 2
ส.ว. ขอเวลาศึกษาอีก 45 วัน ยังไม่เคาะส่งครม. ทำประชามติจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
อ่าน

ส.ว. ขอเวลาศึกษาอีก 45 วัน ยังไม่เคาะส่งครม. ทำประชามติจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

20 ธันวาคม 2565 วุฒิสภาเห็นชอบให้กมธ. ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อพิจารณาศึกษาญัตติขอให้สภามีมติส่งเรื่องที่มีเหตุสมควรจะให้มีการออกเสียง ประชามติให้คณะรัฐมนตรีดำเนินการ ขยายเวลาพิจารณาออกไปอีก 45 วัน
เลือกตั้ง 66: ส่องนโยบาย “กระจายอำนาจ” ของพรรคการเมือง หลังสภาคว่ำร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ส่องนโยบาย “กระจายอำนาจ” ของพรรคการเมือง หลังสภาคว่ำร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น

ในการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นอย่างช้า ในปี 2566 มีพรรคการเมืองอย่างน้อยสองพรรค ได้แก่ พรรคเพื่อไทย และพรรคก้าวไกล ที่ประกาศนโยบายสนับสนุนการกระจายอำนาจ และลดการรวมศูนย์อำนาจของส่วนกลาง
แก้รัฐธรรมนูญภาคห้า: ร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น ไม่ได้ไปต่อ เสียงเห็นชอบไม่ถึงครึ่ง-ส.ว.เห็นชอบแค่ 6 เสียง
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญภาคห้า: ร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น ไม่ได้ไปต่อ เสียงเห็นชอบไม่ถึงครึ่ง-ส.ว.เห็นชอบแค่ 6 เสียง

7 ธันวาคม 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีนัดลงมติ ร่างแก้รัฐธรรมนูญ "ปลดล็อกท้องถิ่น" ที่เสนอให้ลดอำนาจราชการส่วนภูมิภาค และเพิ่มอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีอิสระในการทำบริการสาธารณะ และได้รับการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอเพื่อตอบโจทย์ปัญหาในแต่ละพื้นที่ แต่ร่างดังกล่าวก็ต้องตกไปเนื่องจากได้รับเสียงเห็นชอบจากรัฐสภาไม่ถึงกึ่งหนึ่งและได้รับเสียงเห็นชอบจาก ส.ว. ไม่ถึงหนึ่งในสาม
รวมเทคนิค “ถ่วงเวลา” การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยประชาชน
อ่าน

รวมเทคนิค “ถ่วงเวลา” การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยประชาชน

ความยากของการแก้รัฐธรรมนูญ ปี 2560 ไม่ได้จำกัดอยู่แค่มาตรา 256 เพราะในความเป็นจริง ตัว ส.ส. ฝ่ายรัฐบาล และ ส.ว. ที่มาจากรัฐบาล ก็เป็นส่วนหนึ่งของการถ่วงเวลาในการแก้รัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะประเด็นเรื่องการร่างรัฐธรรมนูญใหม่โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ซึ่งที่ผ่านมา มีการใช้เทคนิคเพื่อถ่วงเวลาการแก้รัฐธรรมนูญจากทั้ง ส.ส. และ ส.ว. รวมกันอย่างน้อย 5 ครั้ง
ส.ส.-ประชาชน เริ่มก้าวแรก! เดินหน้าทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ส.ส.-ประชาชน เริ่มก้าวแรก! เดินหน้าทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่

3 พ.ย. 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นด้วยกับญัตติให้ทำประชามติ เพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ เป็นไปตามกลไก พ.ร.บ.ประชามติฯ ซึ่งให้อำนาจ “รัฐสภา” เสนอทำประชามติได้ ขั้นตอนหลังจากนี้ วุฒิสภาจะเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบญัตติดังกล่าวอีกครั้ง 
ญัตติเสนอทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ผ่านด่าน ส.ส. แล้ว! แต่ยังต้องรอลุ้น ส.ว. ต่อ
อ่าน

ญัตติเสนอทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ผ่านด่าน ส.ส. แล้ว! แต่ยังต้องรอลุ้น ส.ว. ต่อ

3 พ.ย. 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นด้วยกับญัตติให้ทำประชามติ เพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 323+1 = 324 เสียง ไม่เห็นด้วย 0 เสียง ต้องส่งต่อให้วุฒิสภาให้ความเห็นชอบอีกเช่นกัน