conforall seminar
อ่าน

เสวนา #ConforAll ปักธง สสร. เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%

หลังประชาชนเสนอคำถามประชามติ เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100% ต่อคณะรัฐมนตรีแล้ว แต่เรื่องยังไม่เดินหน้า ภาคประชาชนจัดวงเสวนา ปักธง สสร. เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100% เพื่อยืนยันว่าคำถามประชามติดังกล่าวทำได้ และจะทำให้การทำประชามติสะท้อนเจตจำนงประชาชน
Conclusion of second constitution draft from Assembly of the Poor.
อ่าน

สรุป “ร่างรัฐธรรมนูญคนจน” อีกหนึ่งเสียงเรียกร้องรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย

การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ไม่ใช่พื้นที่เฉพาะของฝ่ายการเมืองเท่านั้น แต่ภาคประชาชนยังมีส่วนร่วมสำคัญในการกำหนดอนาคตประเทศครั้งนี้ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างสำคัญคือ "ร่างรัฐธรรมนูญคนจน" ของ "สมัชชาคนจน" ที่เสนอการยกระดับประชาธิปไตยและการคุ้มครองสิทธิของคนทุกคนขึ้นไปให้มากกว่าที่เคยมีมา  
what is government worried about referendum
อ่าน

สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!

หลังรัฐบาลแต่งตั้ง "คณะกรรมการประชามติฯ" ขึ้นมาเพื่อทำให้การทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ดำเนินไปได้อย่างลุล่วง การให้สัมภาษณ์สื่อหรือการแถลงข่าวจำนวนมากกำลังบ่งชี้ว่า รัฐบาลมีความกังวลใจในหลายปัญหาระหว่างการจัดทำคำถามประชามติ แต่ความกังวงนั้นมีสิ่งใดบ้าง สามารถอ่านได้ที่นี่!
Double majority in Referendum
อ่าน

ปัญหา “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” ใน พ.ร.บ.ประชามติ

การแก้ไข พ.ร.บ.ประชามติ พ.ศ. 2564 กำลังเป็นอีกประเด็นที่สำคัญในการทำประชามติเพื่อให้มีการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ โดยเฉพาะการแก้ไขประเด็น “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” (Double majority) ที่อาจเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติไม่ว่าจะเรื่องใด ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตล้มเหลว
People answer "Why we have to use #Conforall referendum question"
อ่าน

522 คำตอบถึงมือ ครม. แล้ว! ย้ำทำไมต้องใช้คำถามประชามติ #conforall

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา iLaw ได้นำคำตอบจำนวน 522 คำตอบ ที่รวบรวมจากคำถามว่า “ทำไมรัฐบาลจึงควรใช้คำถามของแคมเปญ #conforall ในการทำประชามติ” ส่งมอบให้กับรองนายกรัฐมนตรี ภูมิธรรม เวชยชัย ในฐานะประธาน “คณะกรรมการประชามติฯ” เมื่อวันพุธที่ 15 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา โดยคำตอบทั้งหมดถูกแบ่งออกได้เป็นห้ากลุ่ม ดังนี้
What Civil Societies say about New constitution Referendum
อ่าน

ทั้งฉบับหรือจำกัดเงื่อนไข สรุปความเห็นภาคประชาสังคมต่อคำถามประชามติ

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา “คณะกรรมการประชามติฯ” ได้เชิญภาคประชาสังคมจำนวนมากไปแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งแบ่งออกได้เป็นสามกลุ่ม คือ ผู้สนับสนุนการเขียนใหม่ทั้งฉบับ ผู้สนับสนุนการห้ามแก้ไขหมวดหนึ่งและหมวดสอง และ กลุ่มอื่นๆ 
seminar : drafted new constitution
อ่าน

เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ประชามติต้องเปิดกว้าง คำถามมีเงื่อนไขอาจได้คำตอบไม่ตรงเจตจำนงประชาชน

ระหว่างที่การเดินหน้าไปสู่การทำประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ยังไม่ถึงกระบวนการริเริ่มประชามติ 3 พ.ย.  2566 คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) จัดวงอภิปรายสาธารณะในหัวข้อ "กระบวนการขับเคลื่อนรัฐธรรมนูญฉบับประชาธิปไตย : แก้ไข-ร่างใหม่-ประชามติ?" 
referendum
อ่าน

สภาคว่ำข้อเสนอ สส. ฝ่านค้าน ขอให้ทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

25 ตุลาคม 2566 สภาผู้แทนราษฎรคว่ำญัตติสนอให้จัดทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ ซึ่งเสนอโดยสส. พรรคฝ่ายค้าน โดยที่ญัตติเรื่องนี้ก็เคยเสนอมาในสภาชุดก่อนและผ่านสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
Pheu Thai's position on rewriting the constitution
อ่าน

เช็คจุดยืนเพื่อไทย เขียนรัฐธรรมนูญใหม่

แม้ว่าการร่างรัฐธรรมนูญใหม่จะเป็นวาระสำคัญ แต่จะร่างอย่างไร และหน้าตาของสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) จะเป็นแบบใดยังคงไม่มีความชัดเจน ย้อนดูคำพูดของพรรคเพื่อไทยในประเด็นที่เกี่ยวกับจุดยืนการร่างรัฐธรรมนูญใหม่
get to know referendum-research comittee
อ่าน

ทำความรู้จัก 34 กรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ ภายใต้รัฐบาลเศรษฐา

เส้นทางประชามติเพื่อนำไปสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ เริ่มคืบหน้าอยู่บ้าง เมื่อ 3 ตุลาคม 2566 นายกฯ มีคำสั่งตั้งคณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ มีกรรมการ 34 คน ชวนทำความรู้จักกับกรรมการชุดนี้