2 ร่าง 2 ปัญหา 2 โอกาส: เกมในสภา #แก้รัฐธรรมนูญ ยังไม่จบ ประชาชนต้องสู้ต่อ
อ่าน

2 ร่าง 2 ปัญหา 2 โอกาส: เกมในสภา #แก้รัฐธรรมนูญ ยังไม่จบ ประชาชนต้องสู้ต่อ

สถานการณ์การแก้ไขรัฐธรรมนูญ นับถึงเดือนธันวาคม 2563 เหลือร่าง 2 ฉบับ คือ ฉบับพรรคเพื่อไทยและพรรคร่วมรัฐบาล มี 2 ปัญหาต้องช่วยกันคิด จะได้เลือกตั้ง สสร. 100% หรือไม่ และหมวด 1 หมวด 2 จะเขียนใหม่ได้หรือไม่ กับสองโอกาสหากต้องคว่ำข้อเสนอชุดนี้ถ้ายังคงมุ่งสืบทอดอำนาจให้ คสช. ต่ออีก
เครือข่ายประชาชนแถลง ตั้ง สสร. ต้องมาจากการเลือกตั้ง 100%
อ่าน

เครือข่ายประชาชนแถลง ตั้ง สสร. ต้องมาจากการเลือกตั้ง 100%

กว่าร้อยองค์กรร่วมตั้ง “เครือข่ายประชาชนร่างรัฐธรรมนูญเพื่อความเท่าเทียมและเป็นธรรม” แถลงจุดยืน ตั้ง สสร. ต้องมาจากการเลือกตั้ง 100% และต้องมีอำนาจร่างใหม่ทั้งฉบับ ถ้าไม่เป็นประชาธิปไตยประชาชนพร้อมจะไม่รับร่างนี้
รัฐบาลคุมเกมแก้รัฐธรรมนูญใน กมธ. เบ็ดเสร็จ ตั้ง ส.ว. ที่ “ไม่เห็นชอบ” มาด้วย
อ่าน

รัฐบาลคุมเกมแก้รัฐธรรมนูญใน กมธ. เบ็ดเสร็จ ตั้ง ส.ว. ที่ “ไม่เห็นชอบ” มาด้วย

ขั้นตอนต่อไปของการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จะถูกพิจารณาในวาระที่สองโดย กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ 45 คน มีตัวแทนจากพรรคร่วมฝ่ายค้าน 13 คน พรรคร่วมรัฐบาล 17 คน และ ส.ว. 15 คน มีทั้ง ส.ว. 10 คน ที่ "ไม่" ลงมติรับหลักการร่างรัฐธรรมนูญที่เปิดทางให้มีการตั้ง สสร. และมี 2 คน ที่ "ไม่" ลงมติเห็นชอบกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญร่างใดเลย
“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน “ไม่ผ่าน” ความเห็นชอบจากรัฐสภา
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน “ไม่ผ่าน” ความเห็นชอบจากรัฐสภา

18 พฤศจิกายน 2563 รัฐสภามีวาระพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญเพื่อนำไปสู่การเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จากร่าง 7 ฉบับ โดยร่างแก้รัฐธรรมนูญฉบับภาคประชาชน “ไม่ผ่าน” ความเห็นชอบของรัฐสภา
4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้
อ่าน

4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้

17 พฤศจิกายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีนัดพิจารณาญัตติการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเจ็ดฉบับ โดยหนึ่งในร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่จะถูกพิจารณา คือ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับที่เสนอโดยประชาชน ซึ่งหากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภา และประกาศใช้อย่างเป็นทางการ สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับเส้นทางข้างหน้าของการเมืองไทย มีอย่างน้อย 4 เรื่อง
10 ข้อเสนอปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ใช้รัฐสภาแก้กฎหมายได้ 5 ข้อ
อ่าน

10 ข้อเสนอปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ใช้รัฐสภาแก้กฎหมายได้ 5 ข้อ

ชวนพิจารณาข้อเสนอปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ทั้ง 10 ข้อ หากจะนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดขึ้นจริงได้ มีอย่างน้อย 5 ข้อ ที่ต้องอาศัยกระบวนการออกกฎหมายของรัฐสภาเป็นกลไกสำคัญ ส่วนอีก 5 ข้อนั้น ต้องอาศัยการปฏิรูปทัศนคติของคนในสังคมและวัฒนธรรมความเชื่อ
Workshop เตรียมการพูดให้แน่น-ครบ-จบใน 12 นาที
อ่าน

Workshop เตรียมการพูดให้แน่น-ครบ-จบใน 12 นาที

จะต้องขึ้นปราศรัยแล้ว แต่ยังไม่แน่ใจเรื่องข้อมูลของเรื่องที่พูด! เชิญชวนคนจัดกิจกรรมและนักปราศรัยหน้าใหม่ หากสนใจอยากเติมข้อมูลให้การปราศรัยหนักแน่น ครบถ้วน น่าเชื่อถือ ชักจูงใจคนฟังได้ และจบภายในเวลากระชับ มาเรียนรู้กับเราหนึ่งวันเต็ม!
ใบปลิว ข้อเสนอและขั้นตอนคลี่คลายวิกฤติใน 4 เดือน
อ่าน

ใบปลิว ข้อเสนอและขั้นตอนคลี่คลายวิกฤติใน 4 เดือน

ไอลอว์ผลิตใบปลิวนำเสนอทางออกและขั้นตอนแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง ที่สามารถทำได้ตามระบบที่มีอยู่ภายในระยะเวลาอันสั้น ให้ผู้สนใจและเห็นด้วยนำไปพิมพ์แจกต่อเองได้ หรือติดต่อขอรับเอกสารที่พิมพ์แล้วเพื่อนำไปแจกต่อเองได้
ยืนยัน! รัฐธรรมนูญ แก้ได้ “ทุกหมวด ทุกมาตรา” ปัจจุบันไม่มีข้อห้าม อดีตก็ไม่เคยมีข้อห้าม
อ่าน

ยืนยัน! รัฐธรรมนูญ แก้ได้ “ทุกหมวด ทุกมาตรา” ปัจจุบันไม่มีข้อห้าม อดีตก็ไม่เคยมีข้อห้าม

รัฐธรรมนูญนั้นสามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้ทุกมาตราจริงหรือไม่? มีความเข้าใจว่า รัฐธรรมนูญ หมวด 1 บททั่วไปและหมวด 2 พระมหากษัตริย์ นั้นห้ามแก้ไข ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด เพราะโดยหลักแล้วการแก้ไขรัฐธรรมนูญสามารถแก้ได้ทุกหมวด ทุกมาตรา