Forest Seminar all
อ่าน

ชาวบ้านเสนอ “แผนจัดการร่วม” แทนปฏิบัติการ “ทวงคืนผืนป่า” และเอาเกษตรกรเข้าคุก

เกษตรกรถูกพิพากษาให้จำคุกจากกรณีประกาศเขตป่าทับที่เป็นปัญหาเรื้อรังและยิ่งรุนแรงภายใต้นโยบายของ คสช. ด้านชาวบ้านเสนอ "แผนจัดการร่วม" เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าโดยไม่ต้องดำเนินคดี ฝ่ายรัฐยังตัดสินใจล่าช้าทั้งที่มีมติคณะรัฐมนตรีรองรับ คณิต ณ นคร ยังเสนอว่า อัยการอาจสั่งไม่ฟ้องคดีได้แต่ไม่มีใครกล้า นักสิทธิเสนอ ต้องนั่งคุยกันใหม่มีกระบวนการแก้ไขเยียวยา
saithong
อ่าน

ไล่เรียงข้อเท็จจริง กรณีปัญหาอุทยานแห่งชาติไทรทองทับที่ดินของชาวบ้าน

เกษตรกรหลายครัวเรือนเข้าบุกเบิกพื้นที่ตั้งแต่ช่วงปี 2500-2520 จนกลายเป็นหมู่บ้าน ปี 2535 มีการประกาศเขตอุทยานแห่งชาติไทรทองรวมเอาพื้นที่ทำเกษตรและที่อยู่อาศัยของชาวบ้านเข้าไปด้วย ชาวบ้านเรียกร้องให้มีการแก้ไขปัญหาระดับนโยบายแต่ยังไม่คืบหน้า ชาวบ้านอย่างน้อย 14 คนถูกดำเนินคดี และถูกจำคุกในข้อหา "บุกรุกป่า"
Environment
อ่าน

รวม 6 ผลงาน ส่งเสริมทุน-ลดทอนสิ่งแวดล้อม ภายใต้เงา คสช.

หลัง คสช. เข้ายึดอำนาจ คสช. พยายามกระตุ้นเศรษฐกิจและพยายามส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศ ไม่ว่าจะเป็น การผลักดันเรื่อง "เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ" "การจัดการระบบสัปทานแร่" "การกำกับดูแลโรงงาน"  แต่ปัญหาของการพยายามกระตุ้นเศรษฐกิจภายใต้ คสช. ได้ลดทอนมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมลงเพื่ออำนวยความสะดวกให้กลุ่มทุน
Daft of industry act
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ. โรงงาน: ระเบิดเวลาของชุมชนและสิ่งแวดล้อม

ร่าง พ.ร.บ.โรงงานฉบับใหม่ เปิดช่องให้มีการปลดล็อคโรงงานขนาดเล็กออกจากการควบคุม การตัดอำนาจกรมโรงงานเข้าไปควบคุมตรวจสอบ หรือ เปิดช่องเอกชนตรวจสอบโรงงานกันเอง-ช่วยกันเอง ซึ่งทำให้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการลดมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและชุมชน จนมีภาคประชาชนออกมาคัดค้าน
Law for tree
อ่าน

เรายังไม่มีกฎหมายคุ้มครองต้นไม้ใหญ่ในเมือง เสนอกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นดูแล

17 ตุลาคม 2561 ศูนย์บริการวิชาการทางกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดงานบรรยายสาธารณะหัวข้อ กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ป่าในชุมชนเมือง โดย อ.ปีดิเทพ อยู่ยืนยง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเห็นว่าเรายังไม่มีกฎหมายคุ้มครองต้นไม้ใหญ่ในเมือง จึงเสนอกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นดูแล  
1
อ่าน

สนช. พิจารณาร่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำ ยืดเยื้อ – พร้อมเพิ่มมาตราใหม่ระบุชัด ห้ามเก็บเงิน

ในยุคของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีความพยายามในการบริหารจัดการน้ำด้วยการใช้ ม.44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 46/2560 ตั้งสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) เป็นหน่วยงานขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่เกี่ยวกับการบริการจัดการน้ำ และมีอํานาจจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจชั่วคราว และขอเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ มาปฏิบัติหน้าที่ได้ตามความจําเป็นและเหมาะสม รวมถึงการแก้ไขและพยายามผ่านร่างกฎหมายทรัพยากรน้ำ ทว่าเวลาผ่านมาเนิ่นนานนับปี ที่ประชุมก็ยังไม่มีมติผ่านร่างดังกล่าว เนื่องจากมีการถกเถียงและอภิปรายที่ยังไม่ลงตัว 
คุยกับ “ไพฑูรย์ สร้อยสด” ผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งคสช.
อ่าน

คุยกับ “ไพฑูรย์ สร้อยสด” ผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งคสช.ที่ให้อำนาจทหารเข้ามามีบทบาทในการ “ทวงคืนผืนป่า”

ปัญหาเรื่องป่าไม้ เกี่ยวกับการรุกล้ำที่ดินในประเทศไทยมีความยืดเยื้อมายาวนาน ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากนโยบายของรัฐในแต่ละช่วง ในยุคที่ประเทศอยู่ภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) นโยบาย "ทวงคืนผืนป่า” ส่งผลให้ชาวบ้านที่อาศัยในเขตป่าได้รับความเดือดร้อนและต้องอพยพออกจากพื้นที่ที่เคยอยู่อาศัยมาก่อนหน้านี้ 
All for me
อ่าน

รู้หรือไม่? มีคำสั่งหัวหน้า คสช. แบบนี้ ที่เสี่ยงกระทบสิ่งแวดล้อม

การพยายามสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษของ คสช. โดยอาศัยอำนาพิเศษจากมาตรา 44 นำมาซึ่งความกังวลว่า จะเกิดผลกระทบต่อสิทธิชุมชนและสิ่งแวดล้อม เพราะ คสช. ดูเหมือนจะเอาให้ได้ สั่งข้ามหัวทั้งผังเมือง ทั้ง EIA ไม่ต้องสร้างการมีส่วนร่วมใดๆ ทั้งสิ้น
อ่าน

“ปลูกป่า” ทับพื้นที่ไร่หมุนเวียนของชาวกะเหรี่ยง อ.ท่าสองยาง

ข่าวจากตำบลแม่วะหลวง จังหวัดตาก นายอำเภอท่าสองยางเดินหน้านโยบายปลูกป่า โดยปลูกต้นไผ่ทับที่ดินที่ชาวบ้านใช้ทำไร่หมุนเวียน และปลูกข้าวไว้แล้ว
forestation
อ่าน

สี่ปี คำสั่ง คสช. “ทวงคืนผืนป่า” ล้มเหลวเรื่องการเพิ่มพื้นที่ป่า ทำชาวบ้านเดือดร้อน

คำสั่ง คสช. ที่ 64/2557 และ 66/2557 ให้อำนาจทหารเข้าทวงคืนผืนป่า ใช้มาครบสี่ปีแล้ว เครือข่ายประชาชนถอดบทเรียน พบผลกระทบชาวบ้านถูกไล่ออกจากที่ดิน ถูกจับกุมดำเนินคดีอย่างมาก ผ่านมาสี่ปีปัญหายังไม่จบแต่ก็ทวงคืนผืนป่าไม่ได้ตามเป้า จึงเป็นนโยบายที่ล้มเหลว