#Attitude Adjusted?: เรียกนักข่าวประชาไทจิบกาแฟหลังเผยแพร่การ์ตูนเกี่ยวกับม.112
อ่าน

#Attitude Adjusted?: เรียกนักข่าวประชาไทจิบกาแฟหลังเผยแพร่การ์ตูนเกี่ยวกับม.112

ผู้สื่อข่าวของประชาไทอย่างน้อยหนึ่งคนที่ถูกคณะรักษาความสงบแห่งชาติเรียกให้ไป ‘พูดคุย’ จากการนำเสนอรายงานพิเศษเรื่อง “สาระ+ภาพ: ทำอะไรแล้วผิด ม.112 ได้บ้าง” ซึ่งรวบรวมการกระทำที่ถูกตั้งข้อกล่าวหา ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 จากหลายคดีมาทำเป็นภาพการ์ตูนประกอบบทความ
Attitude adjusted?: “เหมือนจะทำให้เราบ้า” เจ็ดวันในค่ายทหาร ของวัยรุ่นที่ถูกกล่าวหาเป็น “แฮกเกอร์”
อ่าน

Attitude adjusted?: “เหมือนจะทำให้เราบ้า” เจ็ดวันในค่ายทหาร ของวัยรุ่นที่ถูกกล่าวหาเป็น “แฮกเกอร์”

16 ธันวาคม 2559 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ผ่านร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) ท่ามกลางเสียงคัดค้านอย่างกว้างขวางบนโลกออนไลน์ สร้างความไม่พอใจให้แก่ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจำนวนมาก และเกิดเป็นกิจกรรมชักชวนกันโจมตีเว็บไซต์ราชการหลายแห่ง เพื่อแสดงออกถึงความไม่เห็นด้วยดังกล่าว กิจกรรมนี้นำโดยเพจเฟซบุ๊กที่ใช้ชื่อว่า พลเมืองต่อต้านซิงเกิ้ลเกตเวย์ และวันที่ 19 ธันวาคม 2559 ผู้ต้องสงสัยรายแรกก็ถูกจับได้ เป็นนักศึกษา ปวส. ด้านคอมพิวเตอร์ ขณะถูกจับอายุ 19 ปี เราจะเรียกเขาด้วยนามสมมติว่า “นัท”
สรุปคำฟ้อง ‘ทวงคืนเสรีภาพ’ ยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558
อ่าน

สรุปคำฟ้อง ‘ทวงคืนเสรีภาพ’ ยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558

กลุ่มฟื้นฟูประชาธิปไตยและภาคประชาชนกลุ่มต่างๆ ได้ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ โดยอาศัยสิทธิตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 เพื่อขอให้วินิจฉัยว่า คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 ข้อ 6 และข้อ 12 มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ รวมถึงคำสั่งควบคุมตัวและการควบคุมตัวผู้ร้องไว้โดยอาศัยอำนาจตามคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 เป็นการกระทำที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
10 อันดับเหตุการณ์เด่นรอบปี 2560
อ่าน

10 อันดับเหตุการณ์เด่นรอบปี 2560

ส่งท้ายปี 2560 “ไอลอว์” ขอจัด 10 อันดับเหตุการณ์เด่นที่เป็นหมุดหมายสำคัญและส่งผลกระทบต่อความเป็นไปทางสังคมการเมืองไทย นี่คือทุกเรื่องที่สำคัญกับทุกคน และเป็นบทเรียนให้เราเรียนรู้ร่วมกัน อย่างน้อยเพื่อให้ยังไม่ลืมกันง่ายๆ
คสช. ใช้ ม.44 แก้ พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ ระบุปลดล็อคเมื่อประกาศกฎหมายลูก ส.ว.-ส.ส.
อ่าน

คสช. ใช้ ม.44 แก้ พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ ระบุปลดล็อคเมื่อประกาศกฎหมายลูก ส.ว.-ส.ส.

หัวหน้าคสช. ออก คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 53/2560 แก้ไขพ.ร.ป.ว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2560 เพื่อเพิ่มเติมเงื่อนไขกับสมาชิกพรรคการเมืองเก่าให้ต้องดำเนินการแจ้งแสดงตัวเป็นสมาชิกต่อหัวหน้าพรรค และขยายกรอบเวลาให้พรรคการเมืองดำเนินงานธุรการโดยการต้องขออนุญาตจาก คสช. และกำหนดเงื่อนไขปลดล็อคพรรคการเมือง เมื่อพ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่งส.ว. และการเลือกตั้งส.ส. ประกาศใช้
“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.
อ่าน

“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.

คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ออกตามมาตรา 44 อย่างน้อย 4 ฉบับ ยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่รัฐที่ทำงานตามคำสั่งนั้นๆ ไม่ให้ถูกตรวจสอบโดยศาลปกครอง ไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และทางวินัย ถ้าได้กระทำไปโดยสุจริต อำนาจลักษณะนี้แทบจะเป็นเรื่องปกติไปแล้วในยุค คสช.
ประกาศ คสช., คำสั่ง คสช. และคำสั่งหัวหน้า คสช. ต่างกันอย่างไร?
อ่าน

ประกาศ คสช., คำสั่ง คสช. และคำสั่งหัวหน้า คสช. ต่างกันอย่างไร?

นับถึงปลายปี 2560 เราได้ยินว่า หน่วยงานรัฐทำงานโดยอ้างอิงอำนาจหน้าที่จากทั้ง ประกาศ คสช., คำสั่ง คสช. และคำสั่ง หัวหน้า คสช. กันเต็มไปหมด ลองทำความเข้าใจเบื้องต้นกันว่า คำทั้งสามนี่้ มีความหมายแตกต่างกันอย่างไร ในทางกฎหมายทำไมถึงใช้คำไม่เหมือนกัน
กฎหมายฮาเฮ: ประกาศ/คำสั่ง คสช. แบบนี้ก็มีด้วยเหรอนี่!
อ่าน

กฎหมายฮาเฮ: ประกาศ/คำสั่ง คสช. แบบนี้ก็มีด้วยเหรอนี่!

ประกาศและคำสั่ง คสช. มีรวมกันกว่า 500 ฉบับแล้ว ครอบคลุมไปแทบจะทุกเรื่อง ด้วยความรวดเร็วในการออก ปริมาณที่มหาศาล และการไม่มีส่วนร่วมจากใครเลย ทำให้หลายฉบับออกมาโดยคนส่วนใหญ่ไม่ทราบว่ามีอยู่ หากลองหยิบมาวิเคราะห์กันละเอียดๆ อาจจะพบเรื่องราวน่าประหลาดใจได้
สนช. ออกกฎหมายพลาดไม่เป็นไร ใช้ ม.44 แก้ตัวได้เสมอ
อ่าน

สนช. ออกกฎหมายพลาดไม่เป็นไร ใช้ ม.44 แก้ตัวได้เสมอ

สนช. เป็นสภาที่ออกกฎหมายกันอย่างรวดเร็วโดยไม่มีฝ่ายค้าน มีกฎหมายอย่างน้อยสองฉบับ คือ พ.ร.บ.ธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 และ พ.ร.บ.การเดินเรือในน่านน้ำฯ พ.ศ.2560 ที่เมื่อออกมาแล้วมีเสียงค้านมากมาย แต่ไม่เป็นไร เพราะ คสช. ใช้ ‘มาตรา44’ แก้ไขให้ภายหลังได้
“มาตรา 44” ไม่โดดเดี่ยว : เผด็จการในอดีตมีทั้งมาตรา 17, 21, 27 ส่วนใหญ่ใช้อำนาจแทนศาล
อ่าน

“มาตรา 44” ไม่โดดเดี่ยว : เผด็จการในอดีตมีทั้งมาตรา 17, 21, 27 ส่วนใหญ่ใช้อำนาจแทนศาล

ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย ไม่ได้มีแค่ “มาตรา44” ของ คสช. เท่านั้นที่เป็นอำนาจเบ็ดเสร็จ ยังมี “มาตรา17” ของจอมพลสฤษดิ์ จอมพลถนอม มี “มาตรา 27” ของพลเอกเกรียงศักดิ์ และอื่นๆ อีก แต่การใช้อำนาจนี้ส่วนใหญ่ในอดีตจะเป็นการตัดสินลงโทษบุคคล ต่างกับ คสช. ที่ใช้ออกกฎหมายและโยกย้ายตำแหน่ง