เปิดคำฟ้องคดี 112 ทำโพลขบวนเสด็จ #ตะวันแบม ถูกตั้งข้อหาแม้ตัวโพลไม่ได้ชี้นำผู้ร่วมทำโพล
อ่าน

เปิดคำฟ้องคดี 112 ทำโพลขบวนเสด็จ #ตะวันแบม ถูกตั้งข้อหาแม้ตัวโพลไม่ได้ชี้นำผู้ร่วมทำโพล

นับถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 ก็นับเป็นเวลา 27 วันแล้วที่ตะวัน-ทานตะวันและแบม-อรวรรณ ซึ่งอยู่ในความควบคุมของราชทัณฑ์ตั้งแต่วันที่ 18 มกราคม- 6 กุมภาพันธ์ 2566 ประกาศอดอาหารและน้ำจนกว่าข้อเรียกร้องสามข้อได้แก่ การปล่อยตัวผู้ที่ถูกคุมขังจากการแสดงออกทางการเมือง การปฏิรูประบบยุติธรรม และการยกเลิกประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 กับ 116 จะได้รับการตอบรับ ตะวันและแบมยื่นคำร้องขอยกเลิกสัญญาประกันของตัวเองซึ่งส่งผลให้ทั้งสองต้องเข้าเรือนจำเพื่อคัดค้านการคุมขังนักกิจกรรมทางการเมืองหลายๆคน เช่น ใบปอ-ณัฐนิชและเก็ท-โสภณที่กำลังทำกิจกรรมอดนอนอยู่ในเวลานี้ รวมถึงนักกิจกรรมทะลุแก๊ซที่ทยอยได้รับการประกันตัว
ฝ่ายค้านเสนอญัตติด่วน #ตะวันแบม เห็นพ้องเร่งคืนสิทธิประกันตัวและใช้สภาหาทางออก
อ่าน

ฝ่ายค้านเสนอญัตติด่วน #ตะวันแบม เห็นพ้องเร่งคืนสิทธิประกันตัวและใช้สภาหาทางออก

ฝ่ายค้านเสนอญัตติด่วนด้วยวาจาเพื่อขอให้รัฐสภาพิจารณาสิทธิในการประกันตัวและรวมถึงเรื่องการใช้กฎหมายล้นเกินในกระบวนการยุติธรรมที่ส่งผลกระทบต่อผู้แสดงความคิดเห็น หรือแสดงออกในทางการเมืองเพื่อให้สภาแห่งนี้ได้ร่วมกันพิจารณาหาทางออก
112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้มคดี “ป้ายผ้าลำปาง” ก่อนพิพากษา
อ่าน

112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้มคดี “ป้ายผ้าลำปาง” ก่อนพิพากษา

ย้อนกลับไปในช่วงที่สถานการณ์ COVID-19 กำลังระบาดรุนแรงเมื่อปี 2563 และการเข้าถึงวัคซีนของประชาชนในประเทศยังคงไม่ทั่วถึง ในวันที่ 30 ธันวาคม 2563 เฟซบุ๊กเพจกลุ่มพิราบขาวเพื่อมวลชนก็ได้โพสต์ภาพป้ายผ้าดิบขนาดใหญ่ที่เขียนข้อความด้วยสีดำและแดงว่า “งบสถาบันกษัตริย์>วัคซีนCOVID19” โดยป้ายดังกล่าวถูกแขวนอยู่บนสะพานรัษฎาภิเศก หรือ “สะพานขาว” สถานที่ซึ่งเป็นเสมือนแลนด์มาร์กของจังหวัดลำปาง ภายในเวลาไม่ถึงหนึ่งเดือนหลังภาพถูกเผยแพร่ ก็มีประชาชนในจังหวัดลำปางทยอยถูกตรวจค้นที่พัก โดยที่หมายค้นนั้น เดินทางมาถึงก่อน “หมายเรียกคดี” จากนั้น เจ้าหน้าที่ก็ทำการด
RECAP: เกิดอะไรขึ้นกับ “ตะวัน-แบม” ??
อ่าน

RECAP: เกิดอะไรขึ้นกับ “ตะวัน-แบม” ??

เกิดอะไรขึ้นกับ “ตะวัน-แบม” ? เรื่องราวนี้มีที่มาที่ไปอย่างไร? ทั้งสองคนเป็นใคร? ทำความเข้าใจข้อเรียกร้องของพวกเธอดังต่อไปนี้
ทบทวน 3 ข้อเรียกร้องตะวันแบม ทำอย่างไร?
อ่าน

ทบทวน 3 ข้อเรียกร้องตะวันแบม ทำอย่างไร?

ตะวันและแบม สองนักกิจกรรมรุ่นใหม่ถูกคุมขังในคดีมาตรา 112 จากการยื่นขอเพิกถอนประกันตัวเอง พร้อมข้อเรียกร้องสามข้อ ซึ่งไม่ใช่เรื่องใหม่ ชวนทบทวนข้อเรียกร้องว่าทำได้อย่างไร และใครเกี่ยวข้องบ้าง
RECAP : ย้อนที่มาการถอนประกัน-อดอาหารแลกเสรีภาพของ #ตะวันแบม
อ่าน

RECAP : ย้อนที่มาการถอนประกัน-อดอาหารแลกเสรีภาพของ #ตะวันแบม

 “ตะวันมีอาการหัวใจจะหยุดเต้นจากการขาดโพแทสเซียม” คำชี้แจงล่าสุดกรณีการอดอาหารและน้ำของตะวัน-ทานตะวัน และแบม-อรวรรณ ในช่วงค่ำ ของวันที่ 25 มกราคม 2566 ทั้ง
มาแล้ว! นัดฟังคำพิพากษา ม.112 ในปี 2566
อ่าน

มาแล้ว! นัดฟังคำพิพากษา ม.112 ในปี 2566

ในปี 2565 จากจำนวนคดี #มาตรา112 ในยุคปิดปากราษฎรตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา รวมอย่างน้อย 227 คน ใน 245 คดี (ข้อมูลล่าสุด วันที่ 12 มกราคม 2566) มีคดีที่มีคำพิพากษาแล้วอย่างน้อย 32 คดี และเริ่มต้นปี 2566 หลายคนอาจได้หยุดพักผ่อนก่อนเริ่มทำงานกันมาในช่วงปีใหม่ แต่สำหรับผู้ต้องหามาตรา 112 นาฬิกาแห่งคำพิพากษาของพวกเขานั้นยังคงย่ำเท้าเดินต่อไปเรื่อยๆ  สำหรับกำหนดนัดฟังคำพิพากษาในปี 2566 มีดังต่อไปนี้ 
“ขอแค่ได้ร่วมสร้างความเปลี่ยนแปลง” โจเซฟจากอาสาสมัครมูลนิธิสู่นักสู้คดี 112
อ่าน

“ขอแค่ได้ร่วมสร้างความเปลี่ยนแปลง” โจเซฟจากอาสาสมัครมูลนิธิสู่นักสู้คดี 112

11 ตุลาคม 2564 ระหว่างที่ศาลอาญากรุงเทพใต้กำลังพิจารณาคดีมาตรา 112 ที่เกิดจากการชุมนุมหน้าสถานทูตเยอรมนีประจำประเทศไทย ชายผิวขาวหนึ่งใน 13 จำเลยซึ่งร่วมอ่านแถลงการณ์ในวันนั้น ปรินท์กระดาษรูปของทนายอานนท์ นำภา และเบนจา อะปัญ จำเลยคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังในเวลานั้น ปิดทับเสื้อยืดของตัวเองยกมือขึ้น และแถลงขอให้ศาลดูรูปของคนที่อยู่บนเสื้อของตัวเองซึ่งทั้งสองคนถูกคุมขังในเรือนจำ ทั้งๆ ที่ยังไม่ถูกพิพากษาว่ามีความผิด จึงขอให้ศาลช่วยส่งเรื่องนี้ไปถึงอธิบดีศาลด้วย หลังแถลงจบชายคนดังกล่าวก็ควักมีดคัตเตอร์ขึ้นม
2022 Judgement Days Recap: ขอบเขตที่ยังไม่แน่ชัด / ยกฟ้องคดี “ฟ้องทางไกล” เพราะพยานหลักฐานอ่อน  ประเด็นเด่นคำพิพากษา 112 รอบปี 65
อ่าน

2022 Judgement Days Recap: ขอบเขตที่ยังไม่แน่ชัด / ยกฟ้องคดี “ฟ้องทางไกล” เพราะพยานหลักฐานอ่อน ประเด็นเด่นคำพิพากษา 112 รอบปี 65

ประเด็นเด่นของคำพิพากษาที่ออกมาในปี 2565 คือเรื่องการตีความขอบเขตความคุ้มครองของมาตรา 112 ที่ยังขาดความชัดเจน เพราะคำพิพากษาที่ออกมามีทั้งที่ศาลตีความขยายขอบเขตไปคุ้มครองพระมหากษัตริย์ในอดีต และตีความไปคุ้มครองถึง “สถาบัน” ซึ่งไม่ใช่ถ้อยคำที่ปรากฎอยู่ในตัวบท ขณะเดียวกันก็มีคำพิพากษาที่ศาลตีความเคร่งครัด