กลไกร้องเรียนทุจริตที่บิดเบี้ยว สู่เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ
อ่าน

กลไกร้องเรียนทุจริตที่บิดเบี้ยว สู่เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ

5 มิถุนายน 2563 ได้มีการจัดแถลงข่าวกรณี “หมู่อาร์ม” ทหารที่เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพ และการเสวนาในหัวข้อ “เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ” เพื่อนำไปสู่การจุดประเด็นการปฏิรูปกองทัพให้เข้ากับบริบททางสังคม
เลือกตั้งซ่อม ลำปาง เขต 4 เดินหน้าภายใต้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เดินทางข้ามจังหวัดไปเลือกตั้งได้
อ่าน

เลือกตั้งซ่อม ลำปาง เขต 4 เดินหน้าภายใต้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เดินทางข้ามจังหวัดไปเลือกตั้งได้

การเลือกตั้งซ่อมจังหวัดลำปาง เขต 4 จะมีขึ้นวันที่ 20 มิถุนายน 2563 ขณะที่ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ก็ยังใช้อยู่ครอบคลุมการเลือกตั้งด้วย จึงต้องมีข้อกำหนดออกมายกเว้นให้ใช้สถานที่ที่เคยห้ามไว้ ให้จัดอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ และให้ประชาชนเดินทางข้ามจังหวัดได้
เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ
อ่าน

เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่หลักเป็นองค์กร ‘พิทักษ์รัฐธรรมนูญ’ คอยตรวจสอบว่า กฎหมายขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ ด้วยบทบาทที่กำหนดความเป็นไปทางการเมือง ทำให้สังคมตั้งคำถามถึงอำนาจที่ล้นเหลือของศาลรัฐธรรมนูญ และ “ที่มา” ของคนที่จะมาดำรงตำแหน่ง ตุลาการที่มาจากสายข้าราชการของไทยนั้นเป็นระบบเฉพาะตัวมากที่ไม่เหมือนระบบของประเทศอื่น 
‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”
อ่าน

‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”

ภายใต้ยุคสมัยของ คสช. "กฎหมาย" ถูกหยิบมาใช้เป็นเครื่องมือสนองตอบอำนาจ ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานทำให้เกิดความเคยชินที่เป็นอันตราย และเมื่อเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลที่ "พยายามจะมาจากการเลือกตั้ง" แนวทางการใช้กฎหมายแบบผิดๆ ยังคงสืบทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง 
6 ปี คสช.: มอง ‘ระบอบ คสช.’ ผ่าน 6 เสาค้ำจุนอำนาจ
อ่าน

6 ปี คสช.: มอง ‘ระบอบ คสช.’ ผ่าน 6 เสาค้ำจุนอำนาจ

22 พฤษภาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) นำโดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ยึดอำนาจรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการสถาปนาอำนาจ “ระบอบ คสช.” ที่พยายามเปลี่ยนผ่านอำนาจแบบเผด็จการเต็มใบไปสู่ระบอบเผด็จการซ่อนรูป ในวาระครบรอบ 6 ปี เราขอทบทวนโครงสร้างอำนาจที่ คสช. ถูกออกแบบไว้ให้คณะรัฐประหารสามารถอยู่กับสังคมไทยได้ไปอีกหลายปี
10 ปี พฤษภา 53: ศาลทหารและการเอาผิด “ผู้ปฏิบัติการ” ที่ไปไม่ถึงไหน
อ่าน

10 ปี พฤษภา 53: ศาลทหารและการเอาผิด “ผู้ปฏิบัติการ” ที่ไปไม่ถึงไหน

ตลอด 10 ปี การเอาผิด ‘ผู้ปฏิบัติการ’ ในเหตุการณ์สลายการชุมนุม พฤษภา 2553 ก็ไม่มีความคืบหน้า แม้ว่ามีหลักฐานคำให้การ ผลการชันสูตรและการไต่สวนการตายที่ระบุว่าผู้เสียชีวิตหลายรายเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของทหาร แต่ทว่าอัยการทหารก็มีความเห็นสั่งไม่ฟ้อง ทำให้เกิดคำถามสำคัญต่อกระบวนการยุติธรรมสำหรับทหาร หรือ "ศาลทหาร" ว่ามีความถูกต้องเที่ยงธรรมมากแค่ไหน
สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เปิดที่มาศาลรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี ลดจำนวนตุลาการสายวิชาการ เพิ่มข้าราชการ
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เปิดที่มาศาลรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี ลดจำนวนตุลาการสายวิชาการ เพิ่มข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจเกี่ยวพันกับการเมือง จึงเกิดคำถามถึงความยึดโยงกับประชาชน รัฐธรรมนูญ 2560 ให้มีตุลาการเก้าคน แบ่งเป็นผู้พิพากษาห้าคน ผู้ทรงคุณวุฒิสายวิชาการและสายราชการอย่างละสองคน ทั้งนี้ ที่มาของศาลรัฐธรรมนูญเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาตั้งแต่จัดตั้งครั้งแรกในรัฐธรรมนูญ 2540 โดยสัดส่วนผู้ทรงคุณวุฒิสายวิชาการลดลงจากห้าคนเหลือสองคนในรัฐธรรมนูญ 2560
เปิด 5 เรื่องเด่น นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ องคมนตรีคนล่าสุด
อ่าน

เปิด 5 เรื่องเด่น นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ องคมนตรีคนล่าสุด

จากที่เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศแต่งตั้ง นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ เป็นองคมนตรี มาดูกันว่าชีวิตของนุรักษ์ตั้งแต่ก่อนเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งได้เป็นองคมนตรี มีผลงานเด่นๆ อะไรบ้าง
เปิดรายชื่อผู้สมัครเป็นกรรมการสิทธิฯ พบชื่ออดีต สนช., สปท. ‘สุเทพ’ ขอฝากหนึ่งชื่อ
อ่าน

เปิดรายชื่อผู้สมัครเป็นกรรมการสิทธิฯ พบชื่ออดีต สนช., สปท. ‘สุเทพ’ ขอฝากหนึ่งชื่อ

การสรรหาผู้ที่จะมาเป็นคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ชุดที่สี่ยังลุ่มๆ ดอนๆ เมื่อเปิดรับสมัครใหม่และเห็นรายชื่อผู้สมัครแล้ว พบคนหน้าเก่าที่อยู่กับแวดวงองค์กรอิสระ และยังมีหลายคนที่เกี่ยวโยงกับเครือข่ายของ คสช. ไอลอว์จึงอยากชวนจับตามองกระบวนการคัดเลือก กสม. ที่กำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้