52390092679_7fdfebf0ba_k
อ่าน

112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้ม “ทิวากร” คดีเสื้อหมดศรัทธา ก่อนพิพากษา

หลังเกิดกรณีการอุ้มหาย “วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์” ในช่วงเดือนมิถุนายน 2563 ประชาชนและนักกิจกรรมหลายกลุ่มออกมาเคลื่อนไหวแสดงออกในลักษณะต่างๆ เพื่อตอบโต้สถานการณ์ ทั้งแฟลชม็อบ #saveวันเฉลิม การยื่นหนังสือเรียกร้องให้รัฐบาลกัมพูชาติดตามหาผู้รับผิดชอบกรณีของวันเฉลิม ในขณะเดียวกันก็มีนักกิจกรรมกลุ่มหนึ่งที่ตั้งข้อสังเกตในลักษณะเชื่อมโยงการหายตัวของวันเฉลิมกับสถาบันพระมหากษัตริย์ “ทิวากร” หนึ่งในสมาชิกกลุ่มเฟซบุ๊ก Royalist Market Place – ตลาดหลวง ก็เป็นอีกคนที่ต้องการแสดงออกต่อกรณีการหายตัวของวันเฉลิมในแบบของเขาเอง โดยทิวากรได้โพสต์ภาพตัวเองสวมเสื้อยืดสีขาว สกรีนข้อ
Covid World
อ่าน

เปรียบเทียบมาตรการรับมือโควิดของไทย กับของชาวโลก

ระหว่างที่สังคมโลกกำลังเผชิญหน้ากับวิกฤตการณ์โควิด 19 แต่ละประเทศก็ตัดสินใจใช้แนวนโยบายที่แตกต่างกัน แนวทางแบบใดที่จะถือว่าประสบความสำเร็จอย่างแท้จริง คงต้องพิจารณากันในระยะยาว ระหว่างนี้การเหลียวมองการตัดสินใจของประเทศอื่นๆ และผลที่เกิดขึ้น ก็เป็นสิ่งที่ควรพิจารณาเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน
Netherlands TN
อ่าน

รับมือโควิดในเนเธอร์แลนด์: ควบคุมโรคแบบ “ชิลๆ” ที่ร็อตเตอร์ดัม

ประเทศเนเธอร์แลนด์เลือกใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของ covid-19 ด้วยวิธีการผ่อนคลาย เพราะเชื่อว่าประชาชนของพวกเขามีความรับผิดชอบเพียงพอจนรัฐไม่ต้องชี้นิ้วสั่ง รวมทั้งเชื่อว่าการควบคุมไวรัสแบบผ่อนคลายจะทำให้เศรษฐกิจของประเทศไม่พังทลาย ที่น่าสนใจคือมาตรการเยียวยาของที่นี่ไม่ได้จำกัดอยู่แค่พลเมืองดัชต์แต่รวมถึงผู้อพยพหรือชาวต่างชาติที่ทำงานเสียภาษีให้รัฐด้วย
Netherlands TN
อ่าน

รับมือโควิดในเนเธอร์แลนด์: “Intelligent Lockdown” รับมือแบบผ่อนคลายเพราะเชื่อมั่นในประชาชน

ในขณะที่ประเทศรอบข้างต่างดำเนินมาตรการรับมือโควิด-19 อย่างเข้มข้น เนเธอร์แลนด์ดินแดนกังหันลมยังคงดำเนินมาตรการล็อคดาวน์แบบผ่อนคลายที่ประชาชนยังพอใช้ชีวิตตามปกติ เช่น พาสุนัขไปเดินเล่นได้บ้าง โดยโจทย์สำคัญ คือ มาตรการคุมโรคในระยะยาวว่าจะปล่อยให้มีการแพร่เชื้อแบบจำกัดเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันหมู่หรือไม่