อ่าน

กฎหมายพุทธศาสนาใหม่ “แผงพระ พระเบี่ยงเบน” อาจติดคุก

ความพยายามเสนอ ร่าง พ.ร.บ.อุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา เกิดขึ้นหลังรัฐประหาร 2549 และต่อเนื่องถึงรัฐบาลหลังจากนั้นหลายครั้งแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ หลังรัฐประหาร 2557 ร่างกฎหมายฉบับนี้กลับมาอีกครั้ง และเป็นกฎหมายฉบับต้นๆ ที่คณะรัฐประหารอนุมัติหลักการก่อนจะมี ครม. และ สนช.ด้วย  
อ่าน

สังคมไทยได้อะไรจากการมีภิกษุณี

มาตรา 37 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ระบุว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการนับถือศาสนาและการปฏิบัติตามศาสนธรรม ศาสนบัญญัติ หรือพิธีกรรมตามความเชื่อถือของตน โดยที่ได้รับความคุ้มครองมิให้รัฐกระทำการใดๆ อันเป็นการรอนสิทธิหรือเสียประโยชน์อันควรมีควรได้ และสาระสำคัญในมาตรา 30 วรรคสอง ตามรัฐธรรมนูญฉบับเดียวกัน ระบุว่า ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน
อ่าน

เผยปัจจัยทางธรรมสามประการ เหตุคัดค้านการบวชภิกษุณี

เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2554 มีการจัดสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ระดับปริญญาเอก ของ นัชชา วาสิงหน เรื่อง “การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งเรื่องการบวชภิกษุณีในสังคมไทย” ณ ห้อง 205 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพฯ โดยมี พระสงฆ์ นักวิชาการ และพุทธศาสนิกชน เราร่วมรับฟังและวิจารณ์ เป็นจำนวนมาก
อ่าน

ขอเพิ่มแค่คำเดียว “ภิกษุณีสงฆ์”

ทั้งที่ในสมัยพุทธกาล สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เคยอนุญาตให้ผู้หญิงบวชเป็นภิกษุณี หรือนักบวชในศาสนาพุทธได้ และในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาญาจักรไทย ก็รับรองไว้ว่าบุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการถือศาสนา และย่อมมีเสรีภาพในการปฏิบัติตามศาสนธรรม โดยไม่จำกัดว่าเฉพาะชายหรือหญิง