90 years revolution
อ่าน

90 ปี อภิวัตน์สยาม: พระราชอำนาจจากรัฐธรรมนูญฉบับแรกจนถึงฉบับปัจจุบัน

หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิ.ย. 2475  รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ จัดสรรพื้นที่ของพระราชอำนาจแตกต่างกัน บางฉบับกำหนดพระราชอำนาจบางเรื่องไว้จำกัด บางฉบับกำหนดแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญ จนน่าตั้งคำถามว่า 90 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยอยู่ภายใต้ระบอบประชาธิปไตยตามที่คณะราษฎรวาดฝันไว้หรือไม่
Untitled-1
อ่าน

ต้นปี 2560 จำเลย 112 ทยอย ‘ยอมแพ้’ หลังคดีพิจารณานาน หวังอภัยโทษออกเร็วกว่า

เมื่อถูกตั้งข้อหาดำเนินคดีทางอาญา ผู้ต้องหาทุกคนมีทางเลือกสองทาง คือ รับสารภาพ หรือให้การปฏิเสธและต่อสู้คดี การรับสารภาพมีรางวัลที่หอมหวาน คือ การลดโทษทันทีครึ่งหนึ่ง และระหว่างการคุมขังยังอาจได้รับการลดหย่อนโทษ หรืออภัยโทษในวาระสำคัญๆ ส่วนคนที่เชื่อว่า ตัวเองไม่ได้ทำอะไรผิดย่อมเลือกต่อสู้คดีเพื่อพิสูจน์ความบริสุทธ์ หากได้ประกันตัว การต่อสู้อาจจะนำมาซึ่งผลลัพธ์ที่พวกเขายอมแลก แต่สำหรับคดีทางการเมือง อย่าง คดีมาตรา 112 ที่ผู้ต้องหาจำน
assent to throne
อ่าน

การสืบราชสันตติวงศ์ (สืบราชสมบัติ)

สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันสำคัญของประชาชนชาวไทย และอยู่คู่สังคมไทยมาอย่างช้านาน ไม่ว่าประเทศจะประสบปัญหาใดๆ แต่สถาบันฯ ไม่เคยห่างหายไปจากสังคม ขั้นตอนหนึ่งของการคงอยู่อย่างต่อเนื่องก็คือ “การสืบราชสันตติวงศ์” ที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ และรัฐธรรมนูญ 2550
อ่าน

คณะนิติราษฎร์เสนอ ยกเลิกมาตรา 112 แก้ไขเพิ่มเติมม.หมิ่นฯ

เมื่อวันที่ 27 มี.ค. 54 คณะนิติราษฎร์ ซึ่งประกอบด้วยคณาจารย์จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อันได้แก่ วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล ธีระ สุธีวรางกูร สาวตรี สุขศรี และปิยบุตร แสงกนกกุล ได้แถลงข้อเสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาท