181265007_10165366883335551_3461010818799640076_n
อ่าน

มาตรา 112 ใช้แตกต่างกันไปตามสถานการณ์การเมือง

แม้ในทางกฎหมาย องค์พระมหากษัตริย์ของไทยอยู่ในฐานะประมุขแห่งรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะสัญลักษณ์แห่งรัฐและอยู่พ้นไปจากความขัดแย้งทางการเมือง แต่การเกิดขึ้นของคดีมาตรา 112 กลับดูจะมีความสัมพันธ์อยู่ไม่น้อยกับสถานการณ์ทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตั้งแต่ช่วงการรัฐประหาร 2549 เป็นต้นมา เมื่อสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองทวีความเข้มข้นหรือตึงเครียดขึ้น การชุมนุมประท้วง การแสดงความคิดเห็นในประเด็นสถาบันพระมหากษัตริย์ก็จะตามมา และนำมาซึ่งปริมาณคดีความ
Military Reform
อ่าน

กลไกร้องเรียนทุจริตที่บิดเบี้ยว สู่เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ

5 มิถุนายน 2563 ได้มีการจัดแถลงข่าวกรณี “หมู่อาร์ม” ทหารที่เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพ และการเสวนาในหัวข้อ “เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ” เพื่อนำไปสู่การจุดประเด็นการปฏิรูปกองทัพให้เข้ากับบริบททางสังคม
อ่าน

สี่ปี คสช. ใช้มาตรา44 + สนช. เข้ายึดองค์กรอิสระได้เบ็ดเสร็จตามใจ

ระหว่างที่วุฒิสภาไม่มีอยู่ สนช. ที่ คสช. แต่งตั้งใช้อำนาจแทน รวมไปถึงการเห็นชอบคนเข้าไปอยู่ในองค์กรอิสระที่ทำหน้าที่ตรวจสอบทุจริต คสช. ยังใช้มาตรา 44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. อีก 14 ฉบับเพื่อเข้าไปออกแบบการสรรหาองค์กรอิสระโดยตรง และมีไม้ตายสุดท้าย คือ ใช้การเซ็ตซีโรให้เริ่มการสรรหาใหม่ทั้งหมด
อ่าน

สี่ปี คสช. ปฏิรูปคอร์รัปชั่น ตั้งหลายกลไกแบบ ‘บนลงล่าง’ ทำโดยทหารไม่ตรวจสอบทหารเอง

การปราบคอร์รัปชั่นตลอดสี่ปีของ คสช. ทำอะไรไปหลายอย่าง ทั้งรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กับกลไกจัดการนักการเมือง, ตั้งองค์กรใหม่ 4 แห่ง ออกประกาศและคำสั่งของ คสช. อย่างน้อย 39 ฉบับ, ออกพ.ร.บ.อย่างน้อย 9 ฉบับ แต่งตั้งและถอดถอนข้าราชการหลายร้อยคน ทั้งหมดเป็นการใช้อำนาจที่ประชาชนไม่มีส่วนร่วม และยังไม่แตะต้องสถาบันทหารเลย
อ่าน

ยุค คสช. แก้กฎหมาย ป.ป.ช. 3 รอบ ก่อนรื้อใหม่ทั้งฉบับ ย้อนกลับไปกลับมา

เพื่อปฏิรูปการปราบปรามทุจริต คสช. แก้กฎหมาย ป.ป.ช. ไปสามรอบ รอบแรกโดยออกเป็นประกาศ คสช. ส่วนอีกสองรอบผ่านทาง สนช. แต่สุดท้ายเมื่อปี 2560 ก็ต้องเขียนกฎหมาย ป.ป.ช. กันใหม่ทั้งฉบับตามรัฐธรรมนูญใหม่ สิ่งที่แก้ไขกันไปบางอย่างก็ยังเหลืออยู่ แต่บางอย่างกลับหายไปเลย
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ตั้งศาลคดีทุจริต: “ของขวัญ” คนไทยตามนโยบายปราบโกงของคสช.

คณะรัฐมนตรีเสนอร่างกฎหมายใหม่ ให้จัดตั้งศาลพิเศษสำหรับพิจารณาคดีทุจริตเป็นการเฉพาะ แต่ยังไม่ชัดว่าวิธีพิจารณาคดีจะแตกต่างจากศาลปกติอย่างไร และศาลใหม่นี้ไม่ได้พิจารณาคดีทุจริตของนักการเมือง เพราะเป็นอำนาจของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองอยู่แล้ว
National-Anti-Corruption-Commission-in-power
อ่าน

ป.ป.ช.ขอแก้กฎหมาย คดีคอร์รัปชั่นมีโทษประหาร-ไม่มีอายุความ

รัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 ให้อำนาจองค์กรที่รักษาการตาม พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ สามารถยื่นเสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างกฎหมายของตนเอง ล่าสุด ป.ป.ช.เสนอแก้ไขในหลายประเด็นที่น่าสนใจ เพื่อทำให้ตนสามารถปราบคอร์รัปชั่นได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดีร่างนี้ก็ยังมีข้อถกเถียงในหลายประเด็น เขาเถียงอะไรกัน?
Police
อ่าน

คอรัปชั่นในแวดวงสีกากี: วงจรอุบาทว์ที่การแก้ไข “เป็นไปไม่ได้”

การรีดไถหรือการติดสินบนตำรวจเป็นสิ่งที่รับรู้กันโดยทั่วไป แต่ที่มาที่ไปหรือกระบวนการเชิงลึกน่าจะยังไม่เป็นที่รับรู้ iLaw สนทนากับอดีตนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่ท่านหนึ่ง และผู้ประกอบการเอกชน เกี่ยวกับประสบการณ์การคอรัปชันของตำรวจ หวังว่าเสียงสะท้อนนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการ "ปฏิรูปตำรวจ" แต่ก็ยังไม่ได้หมายความว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจทุกคน หรือสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จะรู้เห็นหรือสนับสนุนกระบวนการเหล่านี้  
anticorrupt
อ่าน

วิธีเอาผิดนักการเมืองโกง (ตามกฏหมาย)

ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันของนักการเมือง เป็นปัญหาหนึ่งในหลายปัญหาที่สำคัญในประเทศไทย ในการชุมนุมของ กปปส. ข้อเรียกร้องหนึ่งคือ การปฎิรูประบบการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตคอร์รั่ปชั่น ดังนั้นจึงน่าสงสัยว่า ปัจจุบันระบบการตรวจสอบการทุจริตนักการเมืองทำงานอย่างไร? แล้วเพียงพอหรือไม่ในการควบคุมนักการเมือง?