Review of the 10-years proposal on Article 112
อ่าน

จาก “แก้ไข” สู่ “ยกเลิก” ทบทวน 10 ปีข้อเสนอภาคประชาชนว่าด้วยมาตรา 112

สรุปกิจกรรมเสวนา “จาก ครก.112 ถึง ครย.112: ทบทวน 10 ปี ข้อเสนอภาคประชาชนว่าด้วยมาตรา 112” โดยพวงทอง ภวัครพันธุ์ นักวิชาการและผู้ร่วมก่อตั้ง ครก.112 และยิ่งชีพ อัชฌานนท์ ผู้จัดการ iLaw และผู้ร่วมก่อตั้ง ครย. 112 
940056
อ่าน

สองปีคดีระเบิดราชประสงค์: สืบพยานได้ปากเดียว จาก 447 ปาก คำสารภาพยังถูกกังขาเมื่อจำเลยสื่อสารภาษาไม่ได้

คงจดจำกันได้ดีถึงเหตุระเบิดที่ศาลพระพรหมเอราวัณเมื่อปี 17 สิงหาคม 2558 หรือบางคนเรียกว่า “เหตุระเบิดราชประสงค์” ตามชื่อสี่แยกที่ศาลพระพรหมตั้งอยู่ โดยหลังเกิดเหตุหลายฝ่ายมีการวิเคราะห์แรงจูงใจของการก่อเหตุ ไม่ว่าจะเป็นความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศหรือปัญหาชายแดนใต้ อีกแนวคิดหนึ่งที่ถูกเสนอขึ้น คือ ความขัดแย้งระหว่างประเทศอันเกิดจากความไม่พอใจที่ทางการไทยส่งกลุ่มชาติพันธุ์อุยกูร์กลับประเทศจีน ทั้งที่กลุ่มชาติพันธุ์ดังกล่าวอยู่ในสถานะคู่ขัดแย้งกับรัฐบาลจีน  

ลงชื่อ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายอาญามาตรา 112 ตามข้อเสนอคณะนิติราษฎร์

คณะนิติราษฎร์ ซึ่งประกอบด้วยคณาจารย์จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ วรเจตน์ ภาคีรัตน์, ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล, ธีระ สุธีวรางกูร, สาวตรี สุขศรี, ปิยบุตร แสงกนกกุล, จันทจิรา เอี่ยมยุรา เคยแถลงข้อเสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ หรือกฎหมายอาญามาตรา 112