51510359458_ed97133495_k
อ่าน

ความสุขเดียวของเรา ตอนถูกขังคือการที่เราได้หลับและได้ฝัน – ต๋ง ทะลุฟ้า

เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 กลุ่มทะลุฟ้า นำโดยไผ่-จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา นัดรวมตัวที่กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดเพื่อเรียกร้องให้เจ้าหน้าที่คืนรถเครื่องเสียงที่ถูกยึดในช่วงค่ำวันที่ 1 สิงหาคมหลังคนขับรถเครื่องเสียงคันดังกล่าวถูกสกัดจับหลังไปร่วมการชุมนุมที่กองบังคับการตชด.ภาค 1 เพื่อเรียกร้องให้ปล่อยตัวผู้ชุมนุมกลุ่มคนรุ่นใหม่นนทบุรีที่ถูกควบคุมตัวระหว่างร่วมชุมนุมคาร์ม็อบในช่วงบ่ายวันเดียวกัน  
51486207480_0b4eb016e2_k
อ่าน

คืนไม่เห็นจันทร์ กลางวันไม่เห็นพระอาทิตย์ ชีวิตในเรือนจำของ “ปูนทะลุฟ้า”

เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 กลุ่มทะลุฟ้า นำโดยไผ่-จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา นัดรวมตัวที่กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดเพื่อเรียกร้องให้เจ้าหน้าที่คืนรถเครื่องเสียงที่ถูกยึดในช่วงค่ำวันที่ 1 สิงหาคมหลังคนขับรถเครื่องเสียงคันดังกล่าวถูกสกัดจับหลังไปร่วมการชุมนุมที่กองบังคับการตชด.ภาค 1 เพื่อเรียกร้องให้ปล่อยตัวผู้ชุมนุมกลุ่มคนรุ่นใหม่นนทบุรีที่ถูกควบคุมตัวระหว่างร่วมชุมนุมคาร์ม็อบในช่วงบ่ายวันเดียวกัน ระหว่างที่กลุ่มทะลุฟ้ากำลังชุมนุมที่กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพย์ติด เจ้าหน้าที่ทำการสลายการชุมนุมและควบคุมตัวผู้ชุมนุมกลุ่มทะลุฟ้าส่วนหนึ่งไปที่กองบังคับการตำรวจตระเ
Thammasart
อ่าน

ผ่านแล้ว! เกษตร-มธ.-มข.-สวนดุสิต ออกนอกระบบ: ทบทวนประวัติศาสตร์ และความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ – เกษตรศาสตร์ – ขอนแก่น – สวนดุสิต ฉบับใหม่กำหนดให้เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ประกาศใช้แล้ว ย้อนดูประวัติศาสตร์ และบทเรียนเมื่อมหาวิทยาลัยต่างๆ ออกนอกระบบ ค่าเรียนจะแพงขึ้นและรัฐจะประหยัดงบจริงหรือไม่
Appeal Court
อ่าน

สนช.เล็งตั้ง “ศาลอุทธรณ์ชำนัญพิเศษ” วางระบบอุทธรณ์ฎีกาทั้งประเทศใหม่ ให้คดีส่วนใหญ่สิ้นสุดที่ชั้นอุทธรณ์

สนช.กำลังพิจารณาร่างพ.ร.บ.จัดตั้งศาลอุทธรณ์ชำนัญพิเศษ และร่างกฎหมายรวม 9 ฉบับ เพื่อจัดระบบอุทธรณ์คดีให้เป็นระบบเดียวและสอดคล้องกับการแก้ไขป.วิแพ่ง ให้อุทธรณ์ไปที่ศาลอุทธรณ์เท่านั้น และคดีที่จะไปยังศาลฎีกาได้ต้องได้รับอนุญาตก่อน 
Dr.Kanatip
อ่าน

ฟังเรื่องกังวลใจของนักกฎหมาย ต่อร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับความมั่นคงดิจิทัล มีข้อถกเถียงหลายประการ การเก็บข้อมูลต้องขอความยินยอมก่อนหรือไม่? การทำงานของสื่อมวลชนควรได้รับการยกเว้นหรือไม่? จะสร้างสมดุลระหว่างการค้าขายกับการคุ้มครองอย่างไร? คุยกับรศ.ดร.คณาธิป ทองรวีวงศ์
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ปราบปรามสิ่งยั่วยุ: ปกป้องเด็กหรือละเมิดสิทธิ?

ร่างพ.ร.บ.ปราบปรามสิ่งยั่วยุเป็นหนึ่งใน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ" เพื่อป้องกันเด็กลอกเลียนแบบพฤติกรรมจากข่าวพฤติกรรมน่าหวาดเสียว หรือพฤติกรรมที่ยั่วยุให้เกิดการเอาอย่าง ที่น่าสนใจคือเจ้าหน้าที่สามารถค้นบ้าน-ดักฟังได้ หากสงสัยว่ามีการกระทำผิดขึ้น นอกจากนี้ ยังมีข้อถกเถียงว่าร่างพ.ร.บ.นี้จะปราบปรามสิ่งยั่วยุอย่างไร จึงจะไม่ละเมิดเสรีภาพของพลเมือง
อ่าน

แก้กฎหมายศาลทหาร หวังยกมาตรฐานเทียบเท่าศาลพลเรือน

ข้อเสนอแก้พ.ร.บ.ธรรมนูญศาลทหาร ที่อยู่ใน สนช. ตอนนี้ เพิ่มเงินเดือนให้ตุลาการพระธรรมนูญและอัยการทหาร ปรับหลักการหลายอย่างให้สอดคล้องกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และยังมีข้อถกเถียงเรื่องการให้ทหารสั่งขังผู้ต้องสงสัยโดยไม่ขอหมายศาลได้
อ่าน

หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”

กระแสคัดค้าน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ทำให้ผู้ร่างกฎหมายยืนยันว่าจะมีการแก้ไข และยังย้ำว่าร่างกฎหมายนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องออกในช่วงเวลานี้ ต่อประเด็นข้างต้น iLaw จึงขอนำประเด็นถกเถียงที่เกิดขึ้นมาตอบ เพื่อสร้างข้อถกเถียงใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของ "ชุดกฎหมายความมั่งคงดิจิทัล" ต่อไป
Group Prosecution
อ่าน

การดำเนินคดีแบบกลุ่ม ตามข้อเสนอร่างแก้ไขวิธีพิจารณาความแพ่ง

การละเมิดที่มีผู้เสียหายจำนวนมาก หากทุกคนต้องฟ้องแยกกันเป็นสิบๆ คดีคงวุ่นวายมาก และคดีความคงจะรกโรงรกศาลไปหมด "การดำเนินคดีแบบกลุ่ม" จึงเป็นแนวคิดให้โจทก์เป็นตัวแทนฟ้องครั้งเดียว คนอื่นก็มีสิทธิได้ค่าเสียหายด้วย แต่แนวคิดนี้ก็ยังมีข้อน่ากังวลอยู่หลายประการ
Privacy Act
อ่าน

19 ประเด็นสำคัญที่เปลี่ยนแปลงในร่าง พ.ร.บ.คุ้มครอง Privacy (ฉบับความมั่นคงดิจิทัล)

ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ถูกเสนอสู่สนช.แล้วครั้งหนึ่ง แต่ถูกเสนอซ้ำอีกครั้งในชุด "กฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ซึ่งมีเนื้อหาเปลี่ยนไปมาก ใช้หลัก "แจ้งให้ทราบ" เมื่อเก็บข้อมูล โดยไม่ต้องขอความยินยอม ย้ายงานข้อมูลส่วนบุคคลมาอยู่ใต้สำนักงานความมั่นคงไซเบอร์ฯ