17718904770_5c2f01118d_z
อ่าน

ทอม ดันดี: ตราบเท่าที่เรายังมีกันและกัน

โดย ‘มนุษย์ล่องหน’ หญิงสาวดีดตัวลุกขึ้นจากม้านั่งยาวหน้าห้องทันทีที่ประตูห้องพิจารณาคดีเปิดออก เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ในเครื่องแบบสีกากีควบคุมตัวผู้ต้องหาออกมาจากห้อง เขาเป็นชายวัย 50 ปลายร่างสูงใหญ่ ผมรองทรงสีดอกเลา สวมชุดนักโทษเสื้อแขนสั้นสีส้มและกางเกงขาสั้นสีม่วงคล้ำ เท้าเปลือยเปล่ารีบก้าวไปหาร่างที่ยืนรออยู่ เขายกแขนสองข้างซึ่งสวมกุญแจมือขึ้นเหนือศีรษะเพื่อให้ภรรยาลอดตัวเข้ามาในวงแขน พวกเขากอดกันแน่น รอยยิ้มปรากฏบนใบหน้าของคนทั้งสอง
อ่าน

จริยศาสตร์บนโลกดิจิทัล: Freedom of Speech และ Hate Speech บนพื้นที่สื่อใหม่

ในอดีตการสื่อสารในวงกว้างมีข้อจำกัด เพราะตัวกลางที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ไม่สามารถเข้าถึงทุกคนได้ แต่ในปัจจุบันคนเราสามารถสื่อสารต่อกันได้ง่ายและรวดเร็วมากขึ้น ดังนั้นการเกิดขึ้นใหม่ของ Public Sphere ที่เป็นโลกออนไลน์ จึงมาพร้อมกับคำถามสำคัญว่า ในยุคสมัยแห่งข้อมูลข่าวสารเช่นนี้เราสามารถพูดคุยกัน ถกเถียง แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันได้อย่างเสรีจริงหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้สถานการณ์ไม่ปกติ
hatespeech
อ่าน

วิจัยเฮทสปีชในสื่อ รับมือด้วยการกำกับดูแลกันเอง หากไม่ถึงขั้นยุยงให้ใช้ความรุนแรง

ศูนย์ศึกษานโยบายสื่อ เปิดเผยผลการวิจัย “การกำกับดูแลสื่อที่สร้างความเกลียดชัง” ในสื่อออนไลน์ พบเฮทสปีช (hate speech) อุดมการณ์ทางการเมืองมากที่สุด ขณะที่วิทยุโทรทัศน์ สื่อกระแสหลักพบน้อยกว่าสื่อทางเลือกใหม่ และสื่อสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับการเมืองพบมากที่สุด นักวิจัยเสนอควรใช้กฎหมายกำกับดูแลสื่อที่ยุยงให้ใช้ความรุนแรงเท่านั้น
อ่าน

ชาญชัย ชัยสุขโกศล : Hate Speech เท่ากับ Free Speech?

ชาญชัย ชัยสุขโกศล เสนองานวิจัย ให้ตอบโต้ Hate Speech ด้วยวิธีทางการเมืองไม่ใช่เซ็นเซอร์ เชื่อว่าเป็นเสรีภาพการแสดงออกแบบหนึ่ง
อ่าน

ฟรีสปีช VS เฮทสปีช พื้นที่ของสังคมไทยในการแสดงความคิดเห็น

นักอักษรศาสตร์ ชี้ว่าเส้นแบ่งของฟรีสปีชกับเฮทสปีชอยู่ที่คำพูดเป็นการขู่ทำร้ายหรือไม่ นักนิเทศ ยังไม่สามารถหาคำตอบระหว่างสองคำนี้ได้ นักนิติศาสตร์ ชี้การแสดงความคิดเห็นถือเป็นหน้าที่ของพลเมือง