52311681441_47107d21e0_o
อ่าน

4 ตุลาฯ นี้ศาลลำปางนัด ‘ทิวากร’ ฟังคำพิพากษาคดี 116 กรณีหยั่งเสียงถามคนอยากทำประชามติเรื่องสถาบันกษัตริย์หรือไม่

    26 สิงหาคม 2565 ศาลจังหวัดลำปางสืบพยานคดีตามประมวลกฎหมายอาญา 116 ของทิวากรแล้วเสร็จและนัดฟังคำพิพากษาในวันที่ 4 ตุลาคม 2565 เขาถูกกล่าวหาว่า ยุยงปลุกปั่นตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 116 การเปิดแคมเปญเชิญชวนให้ผู้ที่เห็นด้วยว่าควรมีการทำประชามติว่าจะคงไว้หรือยกเลิกสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มาร่วมลงชื่อในแคมเปญบนเว็บไซต์ change.org ที่เขาสร้างขึ้น ศาลจังหวัดลำปางนัดสืบพยานโจทก์และจำเลยระหว่างวันที่ 23-26 สิงหาคม 2565 รวมสี่วัน นำพยานเข้าสืบทั้งหมด
02
อ่าน

ปมร้อนราชภักดิ์: เมื่อการวิพากษ์วิจารณ์และตรวจสอบความโปร่งใสของอุทยานราชภักดิ์นำไปสู่การตั้งข้อหาความมั่นคง

ความน่าสงสัยว่ามีการทุจริตในการก่อสร้างอุทยานราชภักดิ์  เป็นประเด็นที่คนในสังคมพูดถึงอย่างกว้างขวางในช่วงปลายปี 2558 ซึ่งกองทัพบกในฐานะผู้ดำเนินการจัดสร้าง ถูกตั้งคำถามและวิพากษ์วิจารณ์ มีการแชร์ข้อมูลบนโลกออนไลน์เกี่ยวกับความเป็นไปได้ของการทุจริต และผู้ที่น่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องในการทุจริตอย่างแพร่หลาย ขณะเดียวกันก็มีประชาชนกลุ่มหนึ่งเดินทางไปตรวจสอบการทุจริตในสถานที่จริง โดยจัดกิจกรรม ส่องกลโกงอุทยานราชภักดิ์ ซึ่งในเวลาต่อมา มีคนจำนวนมาก ถูกควบคุมตัว ถูกจับกุม และถูกตั้งข้อหาจากการใช้เส
lanna_thumb
อ่าน

ประชดประชันหรือปลุกปั่นยั่วยุ? คดีป้ายผ้าประเทศล้านนาและกฎหมายอาญามาตรา 116

“ประเทศนี้ไม่มีความยุติธรรม กูขอแยกเป็นประเทศล้านนา”   ช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ ถึง ต้นเดือนมีนาคม 2557 ป้ายไวนิลที่มีข้อความนี้ถูกติดตามสะพานลอยของหลายจังหวัดในภาคเหนือ เช่น เชียงราย พะเยา พิษณุโลก ช่วงเวลานั้น กลุ่ม กปปส.
อ่าน

เน้นสภาพเรือนจำ การส่งกลับผู้ลี้ภัย การใช้กฎหมายพิเศษ ในรายงานคู่ขนานสถานการณ์การทรมาน

ภาครัฐส่งรายงานสถาการณ์การทรมานในประเทศไทยต่อกรรมการสากลแล้ว ภาคประชาสังคมมีเวลาถึงต้นปีหน้า เตรียมจัดทำรายงานคู่ขนานระบุประเด็นสำคัญ คำนิยามของ"ทรมาน" การป้องกันเหตุ การบังคับใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง สภาพในเรือนจำ การผลักดันผู้ลี้ภัย และการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
Torture
อ่าน

สถานการณ์ซ้อมทรมานปี 2555: ยังเลวร้าย ไม่เปลี่ยนแปลง

การซ้อมทรมานเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งในประเทศไทย แม้ว่าในปี2550 รัฐไทยจะเข้าเป็นภาคีกับอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี แต่ระบบกฎหมายไทยกลับไม่มีนิยามหรือกำหนดบทลงโทษที่ชัดเจนสำหรับความผิดฐานทรมาน ทำให้การซ้อมทรมานยังเกิดขึ้นต่อเนื่องโดยไม่มีทีท่าว่าจะเบาบางลงไป 
อ่าน

กฎหมายทรมานกับการป้องกันซ้อมทรมาน

เวทีพูดคุยแลกเปลี่ยนการออกกฎหมายป้องกันการซ้อมทรมาน เพื่อให้มีประสิทธิผลสูงสุดในการป้องกันการซ้อมหรือทรมานผู้ต้องหาของเจ้าหน้าที่รัฐ