52296599150_0cd71cd12c_o
อ่าน

นักโทษการเมือง #ระลอก4 ยังคง “เข้า-ออก เรือนจำ” ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5

จนถึงวันที่ 19 สิงหาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 29 คน  นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ในช่วงเวลานี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่ (1) ช่วงเดือนตุลาคม 2563 (2) ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2564 (3) ช่วงเดือนสิงหาคม 2564  (4) หลังการทยอยปล่อยตัวแกนนำราษฎรเมื่อเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2565 ไม่นานนัก “คำสั่งคุมขัง” ก็กลับมาอ
51845763333_e4f88d279d_w
อ่าน

อาลีฟ วีรภาพ: ว่าที่คุณพ่อกับทางวิบากหมายเลข 112

วีรภาพ วงษ์สมาน หรือ อาลีฟ ชายหนุ่มชาวกรุงเทพมหานครวัย 19 ปี น่าจะเป็นหนึ่งในผู้ชุมนุมที่ถูกเจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชนหมายหัวว่าเป็นพวกตัวอันตรายสายบวกที่ต้องจัดการอย่างเด็ดขาด อาลีฟเป็นคนผิวคล้ำ ไว้หนวดและเคยไว้ผมหยิกยาว เวลาที่เขาอยู่แนวหน้าของผู้ชุมนุม เขามักตะโกนต่อว่าหรือท้าทายตำรวจจึงไม่ยากที่เจ้าหน้าที่จะชิงตีตราไปแล้วว่าเขาเป็นพวกชอบก่อความวุ่นวายไม่มีงานทำ แต่หากใครมีโอกาสใช้เวลาพูดคุยกับเขา ทำความรู้จักกับเขาให้มากขึ้น เชื่อว่าความเข้าใจของใครหลายคนที่เคยมีกับเขาน่าจะเปลี่ยนไป. ครอบครัวของอาลีฟเป็นครอบครัวของผู้ใช้แรงงาน แม่ของเขาเป็นแม่บ้านคอยดูแลบ้านและล
51595720506_2a6731801e_o
อ่าน

ดินแดง : สำนักข่าวราษฎรกับความท้าทายของสื่อพลเมือง

สำนักข่าวราษฎรเป็นหนึ่งในสำนักข่าวออนไลน์ที่มีบทบาทสำคัญอย่างมากในการรายงานการชุมนุมทางการเมืองที่แยกดินแดง การรายงานข่าวส่วนใหญ่เป็นการไลฟ์สถานการณ์ยาวผ่านทางเฟซบุ๊กและยูทูบ อาจมีรายงานสรุปสถานการณ์บ้าง เบื้องหลังการรายงานการชุมนุมต่อเนื่องคือ โอปอ-ณัฐพงศ์ มาลี ผู้ก่อตั้งและผู้สื่อข่าวคนเดียวของสื่อพลเมืองสำนักนี้     การชุมนุมที่แยกดินแดง ไลฟ์รายงานข่าวของเขาจับภาพส
51485508738_3fa098987a_k
อ่าน

“…ถ้าเด็ก 13 14 ที่ถูกพวกคุณวิ่งไล่ยิงไล่กระทืบเป็นลูกพวกคุณบ้าง จะรู้สึกยังไง” เสียงจากเบนท์ สมรภูมิดินแดง

ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2564 แยกดินแดงถูกขนานนามโดยใครหลายคนว่าเป็นสมรภูมิ พื้นที่ปะทะและประลองกำลังกันระหว่าง “ผู้ชุมนุมต่อต้านพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา” กับ “ตำรวจชุดคุมฝูงชน” บทสรุปของการปะทะเกือบทุกครั้งจบลงด้วยการสลายการชุมนุมโดยตำรวจ เริ่มต้นด้วยการเขย่าเส้นความอดทนของตำรวจด้วยการใช้ประทัดยักษ์ พลุ ระเบิดเพลิง หรือขวดแก้วตามแต่จะหยิบฉวยได้ปาใส่แนวคอนเทนเนอร์หลายครั้ง ด้วยแนวสิ่งกีดขวางและระยะห่างของตำรวจก็ยากที่จะทะลุทะลวงอุปกรณ์ป้องกันของฝ่ายรัฐที่มีทั้งโล่ ชุดเกราะ แต่ทุกครั้งจบด้วยแก๊สน้ำตา กระสุนยางและอุปกรณ์อื่นๆ ในความครอบครองของเจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชนที่ถูกประเคนคืนกลับมาในฐานะ “กา
52143996695_58980b1389_o
อ่าน

คำบอกเล่าจากแฟลตดินแดง ปากคำของสื่ออิสระในวันที่เจ้าหน้าที่สั่งปิดไลฟ์

“ทุกคนมีสิทธิถ่ายรูป…คือถ้าทุกคนช่วยกัน มันก็จะมีภาพที่เกิดขึ้นลงในโซเชียลให้คนอื่นได้รู้ เราไม่จำเป็นต้องเป็นสื่อก็ได้” นี่คือคำยืนยันของสื่ออิสระที่เข้าไปรายงานสถานการณ์การชุมนุมภายในแฟลตดินแดง ในวันที่ 11 กันยายน 2564 โดยในวันนั้นตำรวจได้จับกุมประชาชนและอาสาพยาบาลไป 78 คน ภายใต้การทำงานของสื่อมวลชนถูกกดดันจากเจ้าหน้าที่ด้วยการตรวจบัตร และห้ามถ่ายทอดสด และใช้ข้ออ้างเรื่องเคอร์ฟิวเพื่อให้ผู้สื่อข่าวออกจากพื้นที่ชุมนุมในเวลาสี่ทุ่ม  ในขณะที่การสลายการชุมนุมยังคงไม่ยุติ ซึ่งในช่วงเวลาที่เหตุการณ์ชุลมุนวุ่นวายบริเวณแฟลตดินแดง จนมี
photo_2021-08-11_19-15-34
อ่าน

ถอดข้อเท็จจริงแนวปะทะสมรภูมิดินแดง 18 ครั้ง ตลอดเดือนสิงหาคม 2564

ในเดือนสิงหาคม 2564 แยกดินแดง บริเวณจุดตัดถนนอโศก-ดินแดงเข้าสู่ถนนวิภาวดีกลายเป็นพื้นที่ปะทะกันด้วยความรุนแรงระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมที่ขับไล่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กับตำรวจชุดควบคุมฝูงชนอย่างน้อย 18 วัน จนถูกตั้งชื่อเล่นว่า “สมรภูมิดินแดง” ขณะที่กลุ่มผู้ชุมนุมก็ตั้งชื่อตัวเองภายหลังอย่างไม่เป็นทางการว่า “ทะลุแก๊ซ” ซึ่งน่าจะมาจากการฟันฝ่ากับแก๊สน้ำตาที่ตำรวจใช้กับผู้ชุมนุมอย่างไม่ลดละ   &n
238416598_536538260988559_327197987477295369_n
อ่าน

“เขาจะเอาเราให้ตายเลยพี่ เขาขู่ผมว่าถ้าไม่หยุดมึงตายนะไอ้อ้วน” เสียงจากแป๊ะ สมรภูมิดินแดง

“ถ้าเรามาเพื่อป่วนเมือง เราคงทุบเละหมดแล้ว ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สินของเอกชนหรือของรัฐ แต่ที่ผ่านมาเป้าหมายเราชัดเจนคือสู้กับรัฐเท่านั้นโดยไม่เคยไปแตะต้องทรัพย์สินเอกชน”“แป๊ะ” สันติภาพ อร่ามศรี
ML Pleum
อ่าน

คุยกับ “คุณปลื้ม” ผู้ดำเนินรายการที่โดนแบน เรื่อง เสรีภาพสื่อภายใต้เผด็จการแบบไทยๆ

ไอลอว์จัดรายการ "คืนวันพุธ ปลดอาวุธคสช." โดยมีแขกรับเชิญเปฺ็น หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล หรือ "คุณปลื้ม" ผู้ดำเนินรายการหลายรายการของว๊อยซ์ทีวี มาเล่าประสบการณ์ของสื่อที่แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นการเมืองแล้วถูกสั่งแบนครั้งแล้วครั้งเล่า
อ่าน

3 พ.ค. วันเสรีภาพสื่อโลก ส่วนสื่อไทยยังอยู่ภายใต้ประกาศ คสช.

ขณะที่ในระดับสากลกำลังให้ความสำคัญกับเสรีภาพสื่อ ในประเทศไทยกลับยังมีกฎเกณฑ์จำนวนมากที่จำกัดการนำเสนอเนื้อหาของสื่อ ประกาศ คสช. และคำสั่งหัวหน้า คสช. ใช้มาหลายปีแล้ว และยังคงใช้ต่อไปเพื่อควบคุมเนื้อหาที่สื่อจะรายงาน แถมยังมีการดำเนินคดีกับสื่ออีกหลายกรณีด้วย
prayuth
อ่าน

97/2557 : ประชาชนอีสแฮปปี้เมื่อพี่เบิ้มขอให้งดพูด

การรัฐประหารผ่านไปหลายเดือนแล้ว ลองมองย้อนกันไปว่าจากประกาศฉบับที่ 97/2557 ออกมา มีอะไรเกิดขึ้นกับวงการสื่อมวลชนและวงการหนังสือบ้าง เผื่ออย่างน้อยเราอาจจะแฮปปี้กันตามที่เขาบอกไว้จริงๆ ก็ได้?