Comparison of Constitutional Courts
อ่าน

เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่หลักเป็นองค์กร ‘พิทักษ์รัฐธรรมนูญ’ คอยตรวจสอบว่า กฎหมายขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ ด้วยบทบาทที่กำหนดความเป็นไปทางการเมือง ทำให้สังคมตั้งคำถามถึงอำนาจที่ล้นเหลือของศาลรัฐธรรมนูญ และ “ที่มา” ของคนที่จะมาดำรงตำแหน่ง ตุลาการที่มาจากสายข้าราชการของไทยนั้นเป็นระบบเฉพาะตัวมากที่ไม่เหมือนระบบของประเทศอื่น 
Covid World
อ่าน

เปรียบเทียบมาตรการรับมือโควิดของไทย กับของชาวโลก

ระหว่างที่สังคมโลกกำลังเผชิญหน้ากับวิกฤตการณ์โควิด 19 แต่ละประเทศก็ตัดสินใจใช้แนวนโยบายที่แตกต่างกัน แนวทางแบบใดที่จะถือว่าประสบความสำเร็จอย่างแท้จริง คงต้องพิจารณากันในระยะยาว ระหว่างนี้การเหลียวมองการตัดสินใจของประเทศอื่นๆ และผลที่เกิดขึ้น ก็เป็นสิ่งที่ควรพิจารณาเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน
Taiwan TN
อ่าน

รับมือโควิดในไต้หวัน: เด็ดขาด ฉับไว เยียวยาให้ธุรกิจท่องเที่ยว

ดลพร นิธิพิทยปกฤต เขียนเล่าประสบการณ์คนไทยที่อยู่ในไต้หวัน ท่ามกลางสถานการณ์โควิด โดยเฉพาะระบบการเยียวยาธุรกิจท่องเที่ยว ทำให้ไม่มีใครถูกไล่ออก ไม่มีการ Lockdown หรือประกาศ Work from home ทุกคนสามารถออกไปข้างนอก พบปะกันได้ภายใต้การสวมใส่หน้ากากอนามัย
Taiwan TN
อ่าน

รับมือโควิดในไต้หวัน: สู้โควิด-19 ในนามความสูญเสียจากซาร์ส 

นิติธร สุรบัณฑิตย์ จากเพจไต้หวันอีกแขนงหนึ่ง ชี้ไต้หวันตื่นตัวเร็วเรื่องโควิด 19 เพราะบทเรียนจากโรคซาร์สปี 2003 หน้ากากอนามัยเหลือพอใช้ จากมาตรการจำกัดการส่งออก กำหนดเพดานราคา เทคโนโลยีกลายเป็นพระเอกในกรณีนี้ ประชาชนใช้ชีวิตปกติ ไม่มี Lockdown ไม่มีเคอร์ฟิว รัฐบาลได้รับความชื่นชมจากภารกิจนี้
IMG_2089
อ่าน

เมื่อการรับมือโควิด 19 แบบไม่เผื่อใจรอ กลายเป็นความสำเร็จของไต้หวัน

ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ไต้หวันเป็นดินแดนที่ถูกกีดกันออกจากประชาคมสาธารณสุขโลก ด้วยเหตุข้อโต้แย้งเรื่องอำนาจอธิปไตยระหว่างไต้หวันกับจีน อย่างไรก็ตามไต้หวันมีบทเรียนจากการแพร่ระบาดของซาร์สเมื่อปี 2546 ทำให้การรับมือโรคโควิด 19 เป็นไปอย่างรวดเร็วและประสบความสำเร็จ โดยที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศยังพอดำเนินต่อไปได้
Amnesty Report
อ่าน

ยกย่องบทบาทคนรุ่นใหม่ที่ลุกขึ้นสู้ ภายใต้การกดขี่เสรีภาพทั้งภูมิภาค

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลแถลงเปิดตัวรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจำปีในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก โดยระบุว่า กระแสการประท้วงทั่วเอเชียที่มีเยาวชนเป็นแกนนำ ถือเป็นความพยายามในการต่อต้านการปราบปรามที่เพิ่มขึ้นและการจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกและการชุมนุมอย่างสงบทั่วภูมิภาค
24121359470_09ac2b8bc0_b
อ่าน

ส่องการเลือกตั้งไต้หวัน : บทเรียนการก้าวข้ามอำนาจนิยมสู่ประชาธิปไตย

วันที่ 16 มกราคม 2016 ไต้หวันจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งที่14 โดยครั้งนี้ไต้หวันได้ ไซ อิงเหวิน (Tsai Ing-Wen) จากพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (Democratic Progressive Party, DPP) เป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกของประเทศ