70179294_10162443478460551_76756953979682816_n
อ่าน

Change.NCPO “แม่หนึ่ง” จากแม่นักกิจกรรมคนหนึ่ง สู่จำเลยสองคดีการเมืองยุค คสช.

เท่าที่แม่จำได้ นิวน่าจะเริ่มทำกิจกรรมช่วงปี 2554 สมัยที่เรียนอยู่ปี 2 ที่ธรรมศาสตร์ ตอนแรกแม่ก็นึกว่านิวทำกิจกรรมแบบนักศึกษาทั่วไปอย่างออกค่ายชนบท แต่ไปๆมาๆก็รู้สึกว่ากิจกรรมของลูกออกจะแหวกแนวไปบ้าง แต่ก็ไม่ได้ห้ามลูกนะแค่เตือนว่าทำกิจกรรมยังไงก็อย่าทิ้งการเรียน ครั้งแรกที่นิวถูกจับคือตอนไปทำกิจกรรมเลือกตั้งที่(รัก)ลักที่หน้าหอศิลป์ จำได้ว่าตอนนั้นแม่กำลังทำงานอยู่นิวโทรมาบอกว่า “แม่มาหานิวหน่อยได้ไหม” แม่ก็บอกว่าได้ ให้ไปหาที่ไหน นิวก็บอกเสียงนิ่งๆว่าสน.ปทุมวัน พอรู้เรื่องแม่ก็รู้สึกเครียดมาก ร้องไห้เหมือนคนบ้าเลย ตอนนั้นก็ยังไม
IMG_0714
อ่าน

อำลาศาลทหาร: เสียงจากจำเลยคดีการเมืองเล่าถึงประสบการณ์ศาลทหาร

13 สิงหาคม 2562 เป็นวันสุดท้ายที่ศาลทหารกรุงเทพโอนคดีของพลเรือนกลับสู่ศาลพลเรือน การโอนคดีดังกล่าวเป็นผลมาจากคำสั่งหัวหน้าคสช.
13147560_1699358260303613_8448181501456747075_o
อ่าน

ปัญหาและข้อสังเกตต่อเนื่องจากการตรวจสอบการสนทนาของ “บุรินทร์” กับ “แม่จ่านิว”

ยังคงหยิบยกมาเป็นบทเรียนได้อย่างต่อเนื่อง จากการที่ตำรวจนำบทสนทนาส่วนตัวของ “บุรินทร์” และ “แม่จ่านิว” มาตั้งข้อหา “หมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 โดยสิ่งที่น่าสนใจก็คือ วิธีการได้มาซึ่งข้อมูลหรือพยานหลักฐาน เพราะกรณีดังกล่าวย่อมส่งผลเสียต่อสิทธิความเป็นส่วนตัวและระบบยุติธรรมในภาพรวม ขอบคุณรูปภาพจาก
13123226_1699357950303644_544510976975919637_o
อ่าน

“แม่จ่านิว” ถูกแจ้งข้อหาเพียงคำว่า “จ้า” เท่านั้น ถ้ามีพฤติกรรมอื่นจริงเท่ากับตำรวจกำลังทำผิดกฎหมาย

ตำรวจอ้างว่าการกระทำผิดของ “แม่จ่านิว” มีมากกว่าคำว่า “จ้า” แต่ไม่เปิดเผยรายละเอียด ทั้งที่ในบันทึกข้อกล่าวหาอย่างเป็นทางการ ระบุการกระทำเพียงคำว่า “จ้า” เท่านั้น ถ้าพฤติกรรมอื่นมีจริงแต่ตำรวจไม่ได้แจ้งข้อกล่าวหา เท่ากับการสอบสวนไม่ชอบด้วยกฎหมายและศาลต้องยกฟ้อง ขณะที่โลกออนไลน์กำลังตื่นตัวกับการตั้งข้อหาหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ หรือมาตรา 112 กับพัฒน์นรี หรือ “แม่จ่านิว” จากการตอบแชทเฟซบุ๊กว่า “จ้า” นั้น 8 พฤษภาคม 2559 พ.ต.อ.โอฬาร สุขเกษม ตำรวจที่เป็นหัวหน้าพนักงานสอบสวน
อ่าน

นักวิชาการจี้กรรมการสิทธิฯ หาทางออกมาตรา 112

อนุกรรมการด้านสิทธิฯ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ได้จัดวงพูดคุยแลกเปลี่ยนปัญหา กรณีการบังคับใช้มาตรา 112 ของประมวลกฎหมายอาญา โดยมีนักวิชาการ ผู้ที่ได้รับผลกระทบ และผู้เข้าร่วมรับฟังอื่นๆเป็นจำนวนมาก