DSC_0403
อ่าน

หอศิลป์…พื้นที่การเมืองของกลุ่มคนรุ่นใหม่

เดิมทีหากพูดถึงพื้นที่ทางการเมือง ทุกคนต่างมุ่งไปที่หมุดหมายสำคัญทางประวัติศาสตร์ เช่น อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยหรือหมุดคณะราษฎรที่ถูกรื้อถอนออกไปแล้ว แต่หลังการรัฐประหาร 2557 หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพ(หอศิลป์) กลายเป็นสถานที่ที่ใช้จัดกิจกรรมทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง เช่นการชุมนุมต่อต้านการรัฐประหารในวันที่ 23 พฤษภาคม 2557 กิจกรรมเลือกตั้งที่(รัก)ลักในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2558 การชุมนุมครบรอบหนึ่งปีการรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม 2558 และการชุมนุมของกลุ่มคนอยากเลือกตั้งครั้งที่หนึ่งในวันที่ 27 มกราคม 2561 เป็นต้น เหตุใดพื้นที่การแสดงออกถึงเริ่มเปลี่ยนผ่านจากสถานที่สำคัญ
อ่าน

จากโรฮิงญา สู่คำถามต่อกฎหมายผู้ลี้ภัยไทย

ประเทศไทยต้องรับมือกับเพื่อนบ้านที่หลบหนีเข้าเมืองหลายกลุ่ม ล่าสุดคือชาวโรฮิงญาที่หนีภัยความตายอันเกิดจากความแตกต่างทางเชื้อชาติหรือศาสนา การเสนอร่างพ.ร.บ.ผู้ลี้ภัยของภาคประชาชน หรือการลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ปี 1951 อาจแก้ไขปัญหาได้ในระดับหนึ่ง