DwvCAvUWkAIsGbG
อ่าน

ทบทวนกรณี #SaveRahaf กับสิทธิผู้ลี้ภัยในยุคคสช.

แม้ว่า Rahaf Mohammed Alqunun สาวชาวซาอุดิอาระเบีย จะมีประเทศที่สามรับเธอให้เข้าไปลี้ภัยแล้ว แต่เรื่องของเธอช่วยทำให้สังคมไทยได้ทบทวนบทบาทของรัฐที่มีต่อผู้ลี้ภัยว่า ต้องดำเนินการตามแนวทางหลักสิทธิมนุษยชน หรือยึดตามหลักต่างตอบแทนโดยส่งผู้ลี้ภัยกลับตามคำร้องขอของมิตรประเทศ
Shackling
อ่าน

โซ่ตรวนนักโทษไทย ควบคุมตัวด้วยการลดทอนความเป็นมนุษย์

ไม่นานมานี้ กรมราชทัณฑ์ประกาศปลดโซ่ตรวนให้นักโทษ 563 คน แม้จะเป็นสัญญาณอันดี แต่ก็เป็นเพียงนโยบายนำร่องที่ใช้เฉพาะเรือนจำบางขวางเท่านั้น คุกอื่นทั่วประเทศไทย ยังคงใช้ “โซ่” ล่ามนักโทษเพื่อความสะดวกของเจ้าหน้าที่เรือนจำในการควบคุมดูแล 
Yuhani
อ่าน

โซ่ตรวนนักโทษ: พันธนาการที่เหนี่ยวรั้งปัญหาชายแดนใต้

นักโทษคดีความมั่นคงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ถือกันว่าคดีมีโทษสูง น่าจะหลบหนี จึงต้องถูกใส่ตรวน 24 ชั่วโมง แม้ศาลยังไม่ตัดสินก็ตาม คนที่ใส่ตรวนต้องเผชิญสภาพอย่างไร และตรวนช่วยแก้หรือช่วยเพิ่มปัญหาความรุนแรง
udom
อ่าน

“โทษสูง น่าจะหลบหนี” เหตุผลยอดฮิตของการใช้โซ่ตรวนนักโทษในเรือนจำ

เรือนจำไทยใช้โซ่ตรวนกับนักโทษ บางแห่งใช้กับนักโทษประหาร นักโทษจำคุกตลอดชีวิต และนักโทษคดีความมั่นคง เพราะคดีมีโทษสูง ผู้ต้องขังน่าจะหลบหนีได้ กลุ่มทนายสามจังหวัดภาคใต้สะท้อนปัญหาสิทธิผู้ต้องขังในคดีความมั่นคง ถูกตรวนเท้าทันทีที่ก้าวเข้าห้องขัง
อ่าน

โซ่ตรวนนักโทษ : มิติทางกฎหมาย

นักโทษถูกจับขังคุกแล้วยังต้องใส่ตรวนที่เท้าอีก สมควรแล้วหรือไม่์? ละเมิดสิทธิหรือไม่? สำรวจกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใส่ตรวนผู้ต้องขัง และเปิดคำพิพากษาศาลปกครองที่วางบรรทัดฐานเรื่องการใส่ตรวนในเรือนจำ