75567439_10162730978515551_7566749824473628672_o
อ่าน

Change.NCPO “ปอนด์” – อภิชาต เจ็ดวันในกองปราบ สามสัปดาห์ในเรือนจำ กับการตัดสินใจหลังได้รับอิสรภาพ

ผมเรียนจบกฎหมาย แต่ไม่อยากไปสอบเป็นทนายความหรือผู้พิพากษา ตัดสินใจไปสมัครงานกับสำนักงาน คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) เพราะอยากเปลี่ยนแปลงในเชิงระบบมากกว่าเป็นรายกรณี ผมได้แรงบันดาลใจมาจากตอนที่เรียนกฎหมายแล้วได้ช่วยต่อสู้จนชาวบ้านที่ไร้สัญชาติได้สัญชาติไทย 60 คน ทำงานได้ไม่ถึง 1 เดือนก็มีรัฐประหาร ได้ยินข่าวว่าจะมีคนจัดชุมนุมคัดค้านการรัฐประหารที่หน้าหอศิลป์ฯ ใช้เวลาไม่นานในการตัดสินใจไปร่วม จำได้ว่าวันนั้นพอเลิกงานก็ปรินท์ข้อความ “ไม่ยอมรับอำนาจเถื่อน” บนกระดาษเอสี่ 10 แผ่นถือติดไปที่ชุมนุม
Change NCPO Template-01
อ่าน

Change.NCPO “Lookade” Chonthicha from student activist to Democracy campaigner

My family background is similar to other middle class families. Prior to the demonstration crackdown in 2010 I was like other teenager who don’t care about politics. During the Red Shirt protest I had never join them. I started to pay attention to politics when the Red Shirt protesters were crackdown. I remember that I saw a magazine called “Voice of Taksin” which written about the demonstration crackdown in the city center of Bangkok. I never know about the Red Shirt before I had neither positive nor negative feeling toward them.
_Change-NCPO
อ่าน

Change.NCPO รังสิมันต์ “โรม” จากนักกิจกรรมนักศึกษาสู่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ได้กลับมาที่หอศิลป์กรุงเทพครั้งนี้ผมมีความรู้สึกหลายอย่างนะ อย่างแรกเลยผมรู้มาว่าหอศิลป์ฯไม่ได้รับเงินสนับสนุนจากกทม.แล้วก็เลยตั้งคำถามกับตัวเองว่าเราพอจะหาทางช่วยอะไรได้บ้างไหม เพราะกรุงเทพฯ ต้องมีพื้นที่ให้คนได้แสดงออกทางวัฒนธรรม และหอศิลป์ฯก็เป็นหนึ่งในไม่กี่พื้นที่ของกรุงเทพฯที่ทำหน้าที่นั้น คงต้องหาทางช่วยหอศิลป์ในเรื่องนี้เพื่อให้พวกเขา (หอศิลป์กรุงเทพ) รู้สึกมั่นคงและทำหน้าที่ในฐานะพื้นที่ทางวัฒนธรรมให้กับสังคมไทยได้ต่อไป   วันนี้ผมมีความรู้สึกที่แตกต่างไป เห็นเด็กๆมากันเยอะ เห็นคนพลุกพล่าน ได้ยินเสียงคนหัวเราะ มันเป็นความรู้สึกในทางบวก แต่ย้อนก
Change NCPO Template-01
อ่าน

Change.NCPO “ลูกเกด” – ชลธิชา จากนิสิตทำกิจกรรมการเมือง สู่คนทำงานรณรงค์ประชาธิปไตย

โดยพื้นฐานทางครอบครัวเราก็เหมือนชนชั้นกลางทั่วไปนะ ก่อนหน้าการสลายชุมนุมปี 2553 เราก็เหมือนวัยรุ่นทั่วไปที่ไม่ได้สนใจการเมือง ช่วงที่คนเสื้อแดงชุมนุมเราก็ไม่เคยไปชุมนุมกับเขา จุดที่ทำให้เริ่มสนใจการเมืองอย่างจริงจังคือการล้อมปราบคนเสื้อแดง ตอนนั้นเราไปเจอหนังสือเล่มหนึ่ง น่าจะเป็น Voice of Taksin ที่เขียนเรื่องการสลายการชุมนุมที่มีคนตายกลางกรุงเทพฯ ก็เลยเริ่มสนใจตั้งคำถามอะไรหลายๆอย่างกับชีวิต ถ้าจะบอกว่าเราเป็นผลผลิตของความอยุติธรรมที่เกิดขึ้นจากการสลายการชุมนุมปี 2553 ก็คงไม่ผิดนัก ตัวเราเองไม่เคยสนใจการเมือง ไม่เคยรู้จักคนเสื้อแดง ไ
DSC_0403
อ่าน

หอศิลป์…พื้นที่การเมืองของกลุ่มคนรุ่นใหม่

เดิมทีหากพูดถึงพื้นที่ทางการเมือง ทุกคนต่างมุ่งไปที่หมุดหมายสำคัญทางประวัติศาสตร์ เช่น อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยหรือหมุดคณะราษฎรที่ถูกรื้อถอนออกไปแล้ว แต่หลังการรัฐประหาร 2557 หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพ(หอศิลป์) กลายเป็นสถานที่ที่ใช้จัดกิจกรรมทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง เช่นการชุมนุมต่อต้านการรัฐประหารในวันที่ 23 พฤษภาคม 2557 กิจกรรมเลือกตั้งที่(รัก)ลักในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2558 การชุมนุมครบรอบหนึ่งปีการรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม 2558 และการชุมนุมของกลุ่มคนอยากเลือกตั้งครั้งที่หนึ่งในวันที่ 27 มกราคม 2561 เป็นต้น เหตุใดพื้นที่การแสดงออกถึงเริ่มเปลี่ยนผ่านจากสถานที่สำคัญ
-Media-Inside-Out
อ่าน

เก็บตกเวที Media Inside Out จำเลยรัฐ จาก NDM ถึง MBK 39

ตั้งแต่ช่วงต้นปี 2561 การเมืองไทยกลับมาเคลื่อนไหวคึกคักอีกครั้ง แม้คำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 3/2558 ที่ห้ามชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ห้าคนขึ้นไปจะยังมีผลบังคับใช้ แต่ก็ไม่ได้ทำให้ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับ คสช. หวาดกลัว ตรงกันข้ามเมื่อมีข่าวว่า พ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส.ฯ จะมีผลบังคับใช้หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษาไปแล้วเก้าสิบวัน และทำให้การเลือกตั้งอาจจะถูกเลื่อนออกไปได้ไกลจากโรดแมปเดิมถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2562 ก็กลายเป็นแรงกระตุ้นให้ประชาชนที่ไม่เห็นด้วยกับ คสช. ทั้งคนรุ่นใหม่และคุณลุงคุณป้าออกมาเคลื่อนไหวเพื่อทวงสัญญาให้มีการเลือกตั้งภายในปี 2561 จนนำไปสู่การดำเนินคดี ฐานฝ่าฝืนคำสั่งหัวหน้า คสช.
Apichart-Witness Hearing1 (1)
อ่าน

ร่วมจับตานัดสืบพยาน คดีต้านรัฐประหาร !

คดีอภิชาต ชุมนุมต้านรัฐประหาร นัดสืบพยานที่ศาลแขวงปทุมวัน 11 และ 30 กันยายน 2558 ก่อนหน้านี้อภิชาตยืนยันพร้อมสู้คดี และยินดีรับผลการพิพากษา แต่จะไม่ยอมรับประกาศคสช.  ก่อนถูกดำเนินคดี อภิชาต เป็นนักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นเจ้าหน้าที่คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย อดีตที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการด้านเด็กและเยาวชน วุฒิสภา และอดีตประธานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย อภิชาตเริ่มศึกษากฎหมายอย่างจริงจังตั้งแต่สมัยเรียนในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองทั้งการชุมนุมทางการเมืองและการเสวนาทางการเมือง
10930542_849464308430047_6211926670457974236_n
อ่าน

วันแห่งความ “ลัก” ที่แสนยาวนาน

14 กุมภาพันธ์ คือวันที่คนมีเจ้าของหลายคน จะกันตัวเองจากภารกิจทั้งปวง เพื่อให้เวลากับคนพิเศษ แต่ 14 กุมภาพันธ์ 2558 มีความแตกต่างไป เมื่อนักศึกษา นักกิจกรรมทางสังคมและประชาชนจำนวนหนึ่ง เลือกมา “เดท” กับ “การเลือกตั้ง” ในกิจกรรม “เลือกตั้งที่(รัก)ลัก” ซึ่ง กลุ่ม “พลเมืองโต้กลับ” จัดขึ้นที่หน้าหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เพื่อรำลึกถึงการเลือกตั้งที่ถูกลัก (ขโมย
medicine
อ่าน

เครือข่ายปชช.ยื่น 10,00 ชื่อเสนอร่างพรบ.ยาแล้ว

เครือข่ายภาคประชาชน  ยื่นรายชื่อกว่า 10,565 รายชื่อ เสนอร่าง พ.ร.บ. ยา ฉบับประชาชน หวังปรับกฎหมายป้องกันโฆษณาชวนเชื่อ-ยาไม่ปลอดภัย