administrative court
อ่าน

ศาลปกครองสูงสุดยกฟ้อง! ปมกกต. ประกาศแบ่งเขตเลือกตั้ง ชี้ชอบด้วยกฎหมาย

7 เมษายน 2566  ศาลปกครองสูงสุด ยกฟ้องคดี เพิกถอนประกาศ กกต. เรื่องการแบ่งเขตเลือกตั้ง ชี้เฉลี่ยจำนวนราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้ง ต่อจำนวนส.ส. ไม่มากไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
1-1@2x-100 (6)
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายหาทางออก กรณี กกต. แบ่งเขตเลือกตั้งไม่ทันยุบสภา

หลังศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยว่า การคำนวนจำนวน ส.ส. จะต้องคำนวณโดยเอาเฉพาะจำนวนราษฎรที่มีสัญชาติไทยมาคำนวณเท่านั้น ส่งผลให้ กกต. ต้องคำนวณจำนวน ส.ส.ใหม่ และผลที่ตามมาคือ ต้องมีการแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ ซึ่งถ้ามีการยุบสภาในระหว่างที่การแบ่งเขตเลือกตั้งยังไม่แล้วเสร็จ ก็จะส่งผลให้ให้บางเขตไม่สามารถส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งได้ และเกิดภาวระสูญญากาศทางการเมือง
Submit to Constitution Court
อ่าน

เลือกตั้ง66: ระวังเหตุเลื่อนเลือกตั้ง! เมื่อต้องรอศาลรัฐธรรมนูญชี้ขาดวิธีแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่

การเดินหน้าสู่เลือกตั้ง'66 มีอุปสรรคอีกแล้ว เมื่อกกต. ขอเวลาไปถามศาลรัฐธรรมนูญอีกว่า จะใช้จำนวนเกณฑ์ราษฎรในการแบ่งเขตเลือกตั้งอย่างไร ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญควรพยายามออกคำวินิจฉัยให้เร็วที่สุด เพื่อไม่กลายเป็นเครื่องมือหยิบเอาประเด็นที่เทคนิคทางกฎหมายมาเป็นจุดพลิกผันต่อความเป็นไปทางการเมืองครั้งใหม่
52690559248_898aa90552_o
อ่าน

เลือกตั้ง 66 : เขตเลือกตั้งเพิ่มจังหวัดไหนบ้าง พรรคไหนได้เปรียบ?

การเลือกตั้งปี 2566 มีการแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เทียบเคียงกับการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาแล้วมีอย่างน้อยหกพรรคได้รับอานิสงส์จากการแบ่งเขตใหม่ครั้งนี้ อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาภูมิทัศน์ทางการเมืองในปี 2566 พบว่า หลายพื้นที่ยังคงความได้เปรียบ แต่จำนวนไม่น้อยเสียฐานที่มั่นทางการเมืองไป
Gerrymandering
อ่าน

รู้จัก Gerrymandering แค่แบ่งเขตก็กำหนดผลแพ้ชนะเลือกตั้งได้

ในการเลือกตั้ง การกำหนดว่าเขตเลือกตั้งหนึ่งจะตั้งอยู่ที่ไหนอาจจะมีความสำคัญมากไม่ต่างกับการออกไปใช้สิทธิหย่อนบัตร หากมีผู้จงใจออกแบบเขตเลือกตั้งใโดยไม่ได้สะท้อนความเป็นจริงของพื้นที่ ก็อาจจะทำให้เกิดความไม่เป็นธรรมในการเลือกตั้ง เราเรียกการแบ่งเขตเลือกตั้งที่มีเป้าหมายเพื่อสร้างความได้เปรียบเสียเปรียบในการเลือกตั้งว่า Gerrymandering
Constituencies
อ่าน

เลือกตั้ง 62: การแบ่งเขตการเลือกตั้ง โดย คสช.

การแบ่งเขตเลือกตั้งก่อนมีคำสั่งหัวหน้า คสช. กกต.แต่ละจังหวัดได้ทำการรับฟังความคิดเห็นและประกาศออกมาเป็นสามรูปแบบ แต่ผลการประกาศเขตเลือกตั้งอย่างเป็นทางการพบว่ามีจำนวน 11 จังหวัดที่มีรูปแบบเขตเลือกตั้งไม่ตรงตามรูปแบบที่ กกต.จังหวัด เคยเสนอไว้ 
44 overrule
อ่าน

เลือกตั้ง 62: คสช. ใช้ ม.44 อย่างน้อยสามครั้งเพื่อเปลี่ยนกติกาการเลือกตั้ง

รัฐธรรมนูญปี 2560 กำหนดให้การเลือกตั้งต้องเกิดขึ้นในปี 2562 และเพื่อให้การเลือกตั้งเป็นไปตามที่คสช. มุ่งหวังไว้ คสช. จึงขอเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้ง โดยเฉพาะการใช้อำนาจตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ ปี 2557 ไปแก้กติกาเพื่อช่วยพรรคการเมืองบางพรรคหรือสร้างเงื่อนไขให้บางพรรค และล่าสุดคือ แก้การแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ตามความเห็น คสช. และรัฐบาล