52296599150_0cd71cd12c_o
อ่าน

นักโทษการเมือง #ระลอก4 ยังคง “เข้า-ออก เรือนจำ” ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5

จนถึงวันที่ 19 สิงหาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 29 คน  นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ในช่วงเวลานี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่ (1) ช่วงเดือนตุลาคม 2563 (2) ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2564 (3) ช่วงเดือนสิงหาคม 2564  (4) หลังการทยอยปล่อยตัวแกนนำราษฎรเมื่อเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2565 ไม่นานนัก “คำสั่งคุมขัง” ก็กลับมาอ
52231112436_73fbca9ee1_o
อ่าน

#ปล่อยเพื่อนเรา มีนักโทษการเมือง 30 คนในเรือนจำ

จนถึงวันที่ 21 กรกฎาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 30 คน นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่ หลังการชุมนุมของเยาวชนปลดแอกในปี 2563 การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ครั้งนี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563, เดือนกุมภาพันธ์ 2564, เดือนสิงหาคม 2564 และเดือนมีนาคม 2565 ในเดือนเมษายน 2565 มีการไต่สวนเพิกถอนสัญญาประกันของผู้ต้องหาคดีมาตรา 112 ทั้งสิ้น
51597880082_9f24ddf3a7_h
อ่าน

Live Real: สื่ออิสระของคนดินแดง เพื่อคนดินแดง โดยคนดินแดง

การปะทะกันระหว่างผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ตำรวจที่บริเวณดินแดง เกือบจะกลายเป็น “เรื่องปกติ” (ที่ผิดปกติ) ในสังคมไทย กล่าวคือ สถานการณ์การชุมนุมในพื้นที่ที่เรียกขานกันว่า “ย่านดินแดง” กลับไม่เป็นที่สนใจของบรรดาสื่อมวลชนและประชาชนมากนัก แม้ว่าในการชุมนุมเกือบจะทุกครั้ง จะมียังมีรายงานเกี่ยวกับการใช้ความรุนแรงเกินกว่าเหตุโดยเจ้าหน้าที่รัฐ หรือมีรายงานผู้ได้รับบาดเจ็บทั้งเจ้าหน้าที่ตำรวจและผู้ชุมนุม รวมถึงมีรายงานความเสียหายของทรัพย์สินราชการและเอกชน ท่ามกลางความเป็นแดนสนธยาของพื้นที่ที่เรียกว่า “ดินแดง” ยังมีสื่อพลเมืองอยู่จำนวนหนึ่งที่คอยเกาะติดสถานการณ์การชุมนุมไม่
photo_2021-10-17_17-26-50
อ่าน

กระเทยแม่ลูกอ่อน: จากเพจสายบุญสู่สื่อพลเมืองในม็อบ

สำหรับคนที่ติดตามการชุมนุมที่ดินแดงอย่างใกล้ชิด คงอาจจะคุ้นชินกับชื่อ “กระเทยแม่ลูกอ่อน” สื่อพลเมืองผู้เกาะติดสนามและนำเสนอข่าวผ่านการถ่ายทอดสดการชุมนุมอย่างสม่ำเสมอ โดยก่อนหน้าที่จะผันตัวมาเป็นสื่อพลเมือง ตัวเพจนั้นมีชื่อเสียงมาก่อนจากการทำโรงบุญแจกอาหารกับคนยากไร้ รวมถึงการช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ หลังจากนั้น ถึงมาทำหน้าที่รายงานเรื่องราวในการชุมนุมในฐานะสื่ออิสระแห่งหนึ่ง แม้ว่าเพจกระเทยแม่ลูกอ่อนจะไม่ถูกรับรองความเป็นสื่อโดยกรมประชาสัมพันธ์หรือสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์ แต่ทีมงานก็ยืนยันว่าพวกเขาเป็นสื่อพลเมืองอย่างเต็มภาคภูมิ โดยพวกเขาได้จดทะเบียนประกอบธุ
52143996695_58980b1389_o
อ่าน

คำบอกเล่าจากแฟลตดินแดง ปากคำของสื่ออิสระในวันที่เจ้าหน้าที่สั่งปิดไลฟ์

“ทุกคนมีสิทธิถ่ายรูป…คือถ้าทุกคนช่วยกัน มันก็จะมีภาพที่เกิดขึ้นลงในโซเชียลให้คนอื่นได้รู้ เราไม่จำเป็นต้องเป็นสื่อก็ได้” นี่คือคำยืนยันของสื่ออิสระที่เข้าไปรายงานสถานการณ์การชุมนุมภายในแฟลตดินแดง ในวันที่ 11 กันยายน 2564 โดยในวันนั้นตำรวจได้จับกุมประชาชนและอาสาพยาบาลไป 78 คน ภายใต้การทำงานของสื่อมวลชนถูกกดดันจากเจ้าหน้าที่ด้วยการตรวจบัตร และห้ามถ่ายทอดสด และใช้ข้ออ้างเรื่องเคอร์ฟิวเพื่อให้ผู้สื่อข่าวออกจากพื้นที่ชุมนุมในเวลาสี่ทุ่ม  ในขณะที่การสลายการชุมนุมยังคงไม่ยุติ ซึ่งในช่วงเวลาที่เหตุการณ์ชุลมุนวุ่นวายบริเวณแฟลตดินแดง จนมี
Untitled-1 copy
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ ตั้งศูนย์กลางรับคำขออนุญาตทุกเรื่อง มุ่งแก้ “เทปสีแดง”

"เทปสีแดง" เป็นปัญหาอย่างหนึ่งของการดำเนินนโยบายที่ล้มเหลวและก่อให้เกิดปัญหาการแสวงหากำไรเกินปกติ ดังนั้นการมีกฎหมายเพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินการระหว่างรัฐและเอกชนจึงเป็นทางเลือกใหม่ในการอุดช่องโหวเหล่านี้