0-2
อ่าน

ศาลปกครองกลางนัดฟังคำพิพากษาคดีวอยซ์ ทีวี ฟ้องเพิกถอนคำสั่งกสทช.

27 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ศาลปกครองกลางออกนั่งพิจารณาคดีเป็นครั้งแรกในคดีที่วอยซ์ ทีวีฟ้องคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 และสำนักงาน กสทช. ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 โดยตุลาการศาลปกครองจะแถลงข้อเท็จจริงในคดี ก่อนที่ในเวลา 14.00 น. ตุลาการฯจะอ่านคำพิพากษาของคดีนี้
panithi
อ่าน

แวะมาเยี่ยม ยามเธอเปลี่ยนไป

นับตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคม 2561 เป็นต้นมา สุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตแกนนำกลุ่มกปปส. และสมาชิกพรรครวมพลังประชาชาติไทย (รปช.) ร่วมกับสมาชิกและแกนนำพรรคคนสำคัญ เช่น  หม่อมราชวงศ์ จัตุมงคล โสณกุล หรือ หม่อมเต่า หัวหน้าพรรครปช. เริ่มทำกิจกรรมเดินสาย “คารวะแผ่นดิน” เดินเท้าหาสมาชิกพรรคทั้งในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่างจังหวัดโดยในช่วงต้นเดือนพฤศจิกายนสุเทพ และสมาชิกพรรครปช.อยู่ระหว่างทำกิจกรรมในภาคตะวันออก
pmove
อ่าน

พีมูฟ: บทเรียนชุมนุมที่ใช่ว่า ทำตามกฎหมายแล้วจะได้ใช้สิทธิ

      หลังรัฐบาลประกาศใช้พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ 2558 (พ.ร.บ.ชุมนุมฯ) ส่งผลให้ประชาชนที่ต้องการ ใช้สิทธิชุมนุมต้องแจ้งการชุมนุมต่อเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง โดยมีบางครั้งเจ้าหน้าที่สั่งให้แก้ไขการชุมนุม อ้างเหตุไม่ถูกต้องตามกฎหมายกำหนด เช่น พื้นที่ชุมนุมเป็นสถานที่ราชการหรือทางสาธารณะ  และหลายครั้งหลังจากพวกเขายื่นหนังสือแจ้งการชุมนุมตามกฎหมาย เจ้าหน้าที่กลับไม่ได้สั่งให้แก้ไขการชุมนุม
4yearspunk
อ่าน

จะสี่ปีแล้วนะ (ไอ้สัตว์!) : สุ้มเสียงแห่งความอึดอัดและการทวงสัญญา

ถ้ารัฐบาลคสช.เข้าสู่อำนาจผ่านการเลือกตั้งในปี 2557 พวกเขาก็จะครบวาระสี่ปีของการทำงานในเดือนพฤษภาคม 2561 และต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป แล้วถ้าหากประชาชนพึงพอใจการทำงานคสช.ก็จะมีโอกาสได้รับการเลือกตั้งให้ทำงานต่อ แต่หากเป็นไปในทางตรงกันข้ามประชาชนก็จะเลือกพรรคการเมืองใหม่ที่นำเสนอนโยบายเป็นที่พอใจของประชาชนเข้ามาทำหน้าที่แทน แต่เนื่องจากรัฐบาลคสช.ไม่ได้เข้าสู่อำนาจตามกฏิกาปกติหากแต่ผ่านการระบุว่าพวกเขาเป็น “รัฎฐาธิปัตย์” กรอบระยะเวลาการทำงานจึงไม่ใช่ระยะเวลาสี่ปีตามปกติหากแต่เป็นเป็นกรอบเวลาตามที่คสช.ในฐานะผู้มีอำนาจเต็มเห็นควร 
240818_ptypoon_2
อ่าน

“อั้งยี่” กฎหมายโบราณที่กลับมาหลังการรัฐประหารของ คสช.

ความผิดฐานอั้งยี่ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 209 เป็นฐานความผิดที่มีมาแต่โบราณ ตั้งแต่สมัยที่จีนโพ้นทะเลอพยพเข้ามาตั้งรกรากหากินในไทย จนบรรจุลงไปในประมวลกฎหมายอาญาไทย เจตนารมณ์ของความผิดฐานนี้เพื่อใช้ควบคุมการรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อจะทำสิ่งที่ฝ่าฝืนกฎหมาย หรือเรียกว่าปราบปรามกลุ่มแก๊งผู้มีอิทธิพลนั่นเอง  จนกระทั่งในยุค คสช.
military court
อ่าน

สี่ปี ศาลทหาร คดีพลเรือนยังคงค้างอย่างน้อย 281 คดี

กรมพระธรรมนูญ (ศาลทหาร) เปิดเผยข้อมูลสถิติคดีพลเรือนในศาลทหารทั่วประเทศรวมทั้งศาลทหารกรุงเทพ ครอบคลุมระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2557 จนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2561 เป็นระยะเวลาประมาณ 4 ปี 1 เดือน โดยระบุว่า ในศาลทหารกรุงเทพ มีจำเลยที่เป็นพลเรือนถูกพิจารณาคดี 367 คน จาก 238 คดี ในจำนวนนี้เป็นคดีที่ศาลมีคำพิพากษาและคดีที่ถึงที่สุด 150 คดี อยู่ระหว่างการพิจารณา 88 คดี หากจำแนกตามประเภทความผิด มีคดีความผิดตามประมวลกฎหมายหมวดพระมหากษัตริย์(รวมทั้งมาตรา 112) 67 คดี ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาหมวดความมั่นคง (รวมทั้งข้อหายุยงปลุกปั่นตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116) 6 คด
night-television-tv-theme-machines
อ่าน

ข้อมูลและขั้นตอนการปิดกั้นเนื้อหาในสื่อโทรทัศน์ ภายใต้ยุคคสช.

วิธีการ และวิธีคิดในการกำกับดูแลสื่อโทรทัศน์ในประเทศไทยกำลังเปลี่ยนไปภายใต้ยุครัฐบาล คสช. เริ่มตั้งแต่การออกประกาศอย่างน้อย 10 ฉบับ การตั้งคณะกรรมการพิเศษติดตามตรวจสอบเนื้อหา และการส่งเรื่องผ่าน “กสทช.” ให้ “องค์กรอิสระ” แห่งนี้ใช้อำนาจแทน อย่างน้อย 18 กรณี จาก 12 สถานี ถูกเรียกให้เข้าสู่กระบวนการกำกับเนื้อหาโดยรัฐ กรณีที่มีชื่อเสียง เช่น การสั่งปิดพีซทีวี การตรวจสอบไทยพีบีเอสเนื่องจากเสนอสกู๊ป “กลุ่มดาวดิน” และกรณีทหารบุกปิดสถานีฟ้าให้ เป็นต้น  การกำกับดูแลเนื้อหาโทรทัศน์ในยุค กสทช. ก่อนการรัฐประหาร (พ.ศ.