อ่าน

ยุค คสช. แก้ประมวล “วิ.อาญา” แล้ว 4 ครั้ง เพื่อความยุติธรรมหรือจำกัดอำนาจทางการเมือง?

หลังยุค คสช. มีการแก้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาถึงสี่ครั้ง เป็นการแก้ไขโดยประกาศของคณะรัฐประหาร หนึ่งครั้งและเป็นแก้ไขโดยการออกพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม โดย สนช. ที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารอีกสามครั้ง ซึ่งมีข้อสังเกตถึงการแก้กฎหมายฉบับนี้ว่าเป็นการแก้เพื่อจำกัดอำนาจทางการเมืองของบุคคลบางกลุ่มหรือไม่
Amended The Criminal Procedure
อ่าน

สนช.แก้ไข ป.วิอาญา 2 ฉบับ: คดีที่คนสนใจประธานศาลฎีกาสั่งย้ายศาลได้ ถ้าจำเลยจะอุทธรณ์ฎีกาต้องมายื่นด้วยตัวเอง

สนช.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาอีก 2 ฉบับ คือ แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 26 เกี่ยวกับการโอนคดี และเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การยื่นอุทธรณ์และฎีกาของจำเลย (มาตรา 198 และมาตรา 216) เนื้อหาน่าสนใจอย่างไรติดตาม
อ่าน

การอุทธรณ์ฎีกาในศาลทหาร

ในยามปกติ ศาลทหารมีการพิจารณา 3 ชั้น เช่นเดียวกับศาลยุติธรรม แต่เมื่อมีการประกาศใช้กฎอัยการศึก ศาลทหารจะเปลี่ยนเป็น "ศาลทหารในภาวะไม่ปกติ" ผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าทำความผิดในระหว่างที่มีการประกาศกฎอัยการศึกจะไม่มีสิทธิอุทธรณ์หรือฎีกา
CIVIL PROCEDURE CODE AMENDMENT
อ่าน

แก้ไข ‘ป.วิแพ่ง’ อาจตัดสิทธิประชาชน อุทธรณ์-ฎีกา

ปัจจุบันการยื่นคดีต่อศาลฎีกาเป็นระบบสิทธิ ซึ่งจะช่วยคุ้มครองคู่ความให้ได้รับความยุติธรรมโดยมีการตรวจสอบถึงสามชั้นศาล สำหรับการแก้ไข "ป.วิแพ่ง" เป็นระบบอนุญาตจะแก้ปัญหาเรื่องภาระคดีจำนวนมากที่จะต้องขึ้นศาลฎีกา การเปลี่ยนแปลงนี้อาจทำให้การตรวจสอบลดลง ดังนั้นการคุ้มครองสิทธิของประชาชนอาจได้รับผลกระทบ
อ่าน

เชคสเปียร์ต้องไม่ตาย! เดินหน้ายื่นหนังสือนายกฯ-ยื่นอุทธรณ์คำสั่ง

ทีมงานผู้สร้างภาพยนตร์เชคสเปียร์ต้องตาย บุกทำเนียบพร้อมรายชื่อประชาชน เรียกร้องนายกฯ หยุดแบนภาพยนตร์ไทย พร้อมเดินหน้ายื่นอุทธรณ์คำสั่งห้ามฉายภาพยนตร์เรื่องนี้แล้ว