247345648_10165976459910551_1939971829866263299_n
อ่าน

ในนามของความสงบเรียบร้อย จากเพจโพสต์รูปม็อบสู่เพื่อนร่วมทางพลเมืองผู้ “ไม่เรียบร้อย”

แม้จะมีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั่วประเทศ และมีการออกข้อกำหนดห้ามชุมนุมโดยอ้างเหตุการระบาดของโควิด-19 ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 แต่ความไม่พอใจต่อสภาวะเศรษฐกิจและการบริหารประเทศโดยเฉพาะการแก้ปัญหาโควิดและการจัดหาวัคซีนทำให้ผู้คนเลือกที่จะลงสู่ท้องถนนโดยไม่หวั่นเกรงต่อโทษทางอาญาที่อาจตามมา ความเข้มข้นของสถานการณ์ทางการเมืองยังทำให้การวิพากษ์วิจารณ์ที่ครั้งหนึ่งมีเพดานอยู่ที่การพูดถึงสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างตรงไปตรงมาได้ถูกทลายลง ผู้มีอำนาจรัฐที่มุ่งหวังจะดำรงรักษาสถานภาพและความสัมพันธ์ระหว่างคนในช่วงชั้นต่างๆ ให้เหมือนเดิมจึงใช้วิธีกดปราบอย่างหนัก จำนวนผู้ถูก
Hate Crime to LGBT
อ่าน

“อุ้มฆ่าทอม” ภาพสะท้อนอคติทางเพศสู่ความรุนแรงที่แสนลึกลับซับซ้อน

จากกรณีข่าวสะเทือนขวัญสังคม เมื่อเจ้าหน้าที่รัฐกลายเป็นผู้ต้องหา “อุ้มฆ่า” สุภัคสรณ์ พลไธสง ผู้ซึ่งมีอัตลักษณ์ทางเพศเป็นทอม จนนำไปสู่วงเสวนาเพื่อสะท้อนปัญหาจากการมีอคติหรือเกลียดชังต่อความแตกต่างทางเพศที่นำไปสู่ความรุนแรง ภายใต้ชื่องาน “อุ้ม ซ้อมทรมาน ฆาตกรรม: อาชญากรรมแห่งความเกลียดชังต่อ “ทอม” และความหลากหลายทางเพศ ที่โรงแรมเอเชีย กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2559 ที่ผ่านมา
hatespeech
อ่าน

วิจัยเฮทสปีชในสื่อ รับมือด้วยการกำกับดูแลกันเอง หากไม่ถึงขั้นยุยงให้ใช้ความรุนแรง

ศูนย์ศึกษานโยบายสื่อ เปิดเผยผลการวิจัย “การกำกับดูแลสื่อที่สร้างความเกลียดชัง” ในสื่อออนไลน์ พบเฮทสปีช (hate speech) อุดมการณ์ทางการเมืองมากที่สุด ขณะที่วิทยุโทรทัศน์ สื่อกระแสหลักพบน้อยกว่าสื่อทางเลือกใหม่ และสื่อสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับการเมืองพบมากที่สุด นักวิจัยเสนอควรใช้กฎหมายกำกับดูแลสื่อที่ยุยงให้ใช้ความรุนแรงเท่านั้น