50589198217_2d0f0718c9_z
อ่าน

เลือกตั้งท้องถิ่น: รู้จัก อบจ. และการเตรียมตัวก่อนไปเลือกตั้ง 20 ธันวาคม

อบจ. เป็นหนึ่งในรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีโอกาสปกครองกันเอง โดยหลักจะมีการเลือกตั้งทุก 4 ปี แต่เนื่องจากมีการรัฐประหารของ คสช. ทำให้การเลือกตั้งท้องถิ่นต้องถูก "แช่แข็ง" ไว้ และเว้นว่างไปนานกว่า 6 ปี หรือบางพื้นที่กว่า 8 ปี แต่อย่างไรก็ตาม การเลือกตั้ง อบจ. กำลังจะมีขึ้นในวันที่ 20 ธ.ค.นี้
20160429062432
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.การเลือกตั้งท้องถิ่นฯ: เลือกตั้งท้องถิ่นครั้งแรกต้องรอ คสช. อนุญาต

ร่างกฎหมายเลือกตั้งท้องถิ่นฯ แม่บทการจัดการเลือกตั้ง อปท.ทุกระดับ จะผ่านความเห็นชอบจาก สนช. ในวันที่ 24 ม.ค. 2562
อ่าน

สี่ปี คสช. ปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น กระจายอำนาจถอยหลัง ราชการแทรกแซงท้องถิ่น

การปกครองแบบ คสช. มีแต่แนวโน้มทำให้การปกครองส่วนท้องถิ่นอ่อนแอลง ราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาคกลับเติบโตขึ้นอย่างชัดเจน ขณะที่แผนการปฏิรูปประเทศก็ไม่ได้ให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่นอย่างมีนัยยะสำคัญ แน่นอนว่า สี่ปีเต็มของ คสช. การกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่นสู่ประชาชนถือว่าล้มเหลว
The Act on Navigation in Thai Waters
อ่าน

พ.ร.บ.เดินเรือฯ แก้ปัญหาแม่น้ำลำคลองแบบถอยหลัง “ลงคลอง”

สนช.ผ่านพ.ร.บ.การเดินเรือในน่านน้ำไทยฯ และบังคับใช้ 23 ก.พ.2560 ก่อให้เกิดผลกระทบในวงกว้างต่อประชาชนและชุมชุนที่มีวิถีชีวิตทั้งทางทะเล และลำน้ำต่างๆ ทั่วประเทศ ปัญหาดังกล่าวส่งผลให้คสช.ต้องใช้ม. 44 โดยกำหนดให้ชะลอการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้บางมาตราออกไป 
Decentralization
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กระจายอำนาจถอยหลัง บางท้องถิ่นไม่ต้องเลือกตั้ง และลดการมีส่วนร่วมประชาชน

ประเด็นการกระจายอำนาจเป็นสิ่งที่พัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ถึงรัฐธรรมนูญ 2550 แต่ปัจจุบันการกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่นต้องหยุดชะงักลงอย่างไม่มีกำหนด เมื่อ คสช.รัฐประหาร นอกจากนี้ในร่างรัฐธรรมนูญปี 2559 ที่จะถูกนำไปออกเสียงประชามติก็ไม่มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจนถึงการกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่น เมื่อเปรียบเทียบกับร่างรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า
Viengrat Netipo
อ่าน

ฟังเสียงปฏิรูป: เวียงรัฐ เนติโพธิ์ มองข้อเสนอสปช.เรื่องปฏิรูปท้องถิ่น “ประชาธิปไตยที่เพิ่งเริ่มคลาน”

ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิ่นของ สปช. มีสาระสำคัญคือการกระจายอำนาจและโอนถ่ายภารกิจไปยังท้องถิ่น แต่เมื่อพิจารณาในรายละเอียด กลับพบข้อเสนอที่ย้อนแย้งต่อหลักการกระจายอำนาจ เช่น การเพิ่มบทบาทกำกับดูแลท้องถิ่น จึงชวนให้สงสัยว่า ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิ่นของ สปช. มีทิศทางอย่างไรกันแน่
อ่าน

รู้จัก “ภาษีทรัพย์สิน” ก่อนที่บ้านทุกหลัง ที่ดินทุกแปลง ต้องจ่าย!

ร่าง พ.ร.บ. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง กำหนดให้ต่อไปนี้ ทุกหลังคาเรือนจะต้องจ่ายภาษีให้แก่รัฐ iLaw ชวนมาทำความรู้จักกับภาษีตัวใหม่ ที่ไม่ใหม่เสียที่เดียวที่จะส่งผลสะเทือนในวงกว้าง และเป็นความหวังในการลดความเหลื่อมล้ำของรัฐบาลภายใต้ คสช.  
อ่าน

คุยกับชัชวาลย์ ทองดีเลิศ “เด็กบนดอยไม่จำเป็นต้องเรียนเหมือนกับเด็กกรุงเทพฯ”

iLaw สนทนากับ ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ครูการศึกษาทางเลือกที่โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา เพื่อให้ความเห็นมุมมองของการศึกษาทางเลือกในวิกฤติการศึกษาปัจจุบัน ที่มองการศึกษาแค่การเดินเข้าเดินออกจากโรงเรียนเท่านั้น
thai map
อ่าน

นักวิชาการชี้ กม.ลูกตามรัฐธรรมนูญ สร้างอุปสรรคกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น

งานวิจัยเศรษฐศาสตร์ชี้ การกระจายอำนาจตามรัฐธรรมนูญ 40-50 ไร้ประสิทธิภาพ เพราะกฎหมายลูกให้ท้องถิ่นรับผิดชอบต่อส่วนกลางมากกว่าประชาชน การถอดถอนสมาชิก และเสนอบทบัญญัติท้องถิ่น โดยปชช.ไม่เกิดเพราะเงื่อนไขสูงเกิน