International Agreement Law
อ่าน

ต้องรอบคอบแค่ไหนก่อนทำสัญญาระหว่างประเทศ? ความฝันประชาชน vs ข้อเสนอกระทรวงต่างประเทศ

กระทรวงต่างประเทศกำลังเสนอกฎหมายใหม่ กำหนดวิธีการฟังเสียงประชาชนเพื่อให้รัฐบาลไปตกลงทำสัญญาระหว่างประเทศ ให้เปิดช่องทางออนไลน์ จัดประชุม ทำโพล ฯลฯ แต่ให้เวลาอย่างน้อย 15 วัน ส่วนช่องทางอื่นๆ ที่ประชาชนเคยเสนอไว้ให้เปิดเผยข้อมูล เปิดเผยร่างสัญญา มีผู้สังเกตการณ์ หายไปหมดแล้ว
FTA Watch Statement
อ่าน

แถลงการณ์ “จับตาเอฟทีเอ: ยุคสมัยที่มาตรา 190 หายไปจากรัฐธรรมนูญ”

กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (เอฟทีเอว็อทช์) แถลงกรณีรัฐบาลเตรียมรื้อฟื้นการค้าไทย-อียู หวั่นค่าใช้จ่ายด้านยาแพงขึ้น 81,356 ล้านบาท เกิดการผูกขาดเมล็ดพันธุ์ เกษตรกรไม่สามารถเก็บเมล็ดพันธุ์และส่วนขยายพันธุ์ไปเพาะปลูกต่อได้ ชี้รัฐธรรมนูญ 60 เรื่องข้อตกลงระหว่างประเทศล้าหลังที่สุด
CPTPP
อ่าน

รัฐบาล คสช.กำลังลักไก่นำประเทศไทยไปผูกพันกับความตกลง CPTPP

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี ระบุว่า การขอเข้าเป็นสมาชิก CPTPP ของทำให้ประเทศไทยอยู่ในความสนใจของนักลงทุน ขณะที่ เอฟทีเอ ว็อทช์ ชี้ รัฐบาล คสช.  เตรียมลักไก่ ทั้งที่จะเลือกตั้งแล้ว ควรรอรัฐบาลชุดหน้าที่มีความชอบธรรม   
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัดขั้นตอนรับฟังประชาชน ก่อนการทำข้อตกลงระหว่างประเทศ

ก่อนหน้านี้ ถ้ารัฐบาลจะลงนามในข้อตกลงระหว่างประเทศที่มีผลต่อเศรษฐกิจและสังคม ต้องให้ข้อมูลประชาชนและจัดรับฟังความคิดเห็นของประชาชนประก่อนการดำเนินการ แต่ตามร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ ไม่มีขั้นตอนนี้คอยบังคับรัฐบาลแล้ว
อ่าน

มาตรา183 กลับไม่ได้ ไปไม่ถึง

ก่อนที่สภาปฏิรูปแห่งชาติจะลงมติรับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (เอฟทีเอ ว็อทช์) มีข้อสังเกตและไม่เห็นด้วยต่อมาตรา 183 ว่าด้วยการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ เพราะเห็นว่าไม่อาจสร้างกระบวนการตรวจสอบถ่วงดุล การมีส่วนร่วม ระหว่างฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และภาคประชาสังคม ซึ่งเป็นหลักการสำคัญข้อหนึ่งในระบอบการเมืองประชาธิปไตย