n20200910150835_468916
อ่าน

ถ้าร่างแก้รัฐธรรมนูญผ่านปีนี้ ปลายปีหน้าได้รัฐธรรมนูญใหม่

ในเดือนกันยายน 2563 คาดว่าจะมีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญอย่างน้อยสองฉบับ โดยสาระสำคัญของร่างแก้รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับมีจุดร่วมกัน คือ การเปิดทางให้มีการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน และต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งถึงสองปี 
Parliament approved loan decree.
อ่าน

สภาเห็นชอบ พ.ร.ก.กู้เงิน 1.9 ล้านล้าน: ส.ส. มีเสียงค้าน แต่ ส.ว.ผ่านฉลุย!

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเกี่ยวกับ พ.ร.ก.เงินกู้ สามฉบับ หลังจากมีการอภิปรายถึงห้าวัน ผลคือ เห็นชอบให้ผ่าน พ.ร.ก.ทั้งสามฉบับ และได้ส่งต่อไปให้วุฒิสภาพิจารณา และลงมติอีกครั้ง ซึ่งที่ประชุม ส.ว.ใช้เวลาทั้งหมดสองวัน และลงมติเห็นชอบทั้งสามฉบับโดยไม่มี ส.ว. คนใดไม่เห็นชอบเลย
-01
อ่าน

“กฎหมายตก–ถูกถอดถอน–ตัดสิทธิการเมือง–คดีอาญา” ย้อนสี่บรรทัดฐานการเมืองไทย กรณีเสียบบัตรแทนกัน

กรณีเสียบบัตรแทนกันของ ส.ส.พรรคภูมิใจไทย ที่ออกมายอมรับว่าไม่ได้อยู่ประชุมสภา แต่มีชื่อว่าลงคะแนนโหวตร่าง พ.ร.บ.งบประมาณฯ และยังมีคลิป ส.ส.เสียบบัตรลงคะแนนซ้ำเกินหนึ่งใบ ทำให้เกิดข้อสงสัยว่าผลของการกดโหวตแทนกันจะนำไปสู่อะไรบ้าง
Amend Constitution: 20 Thai Constitutions Have Been Successfully Amended 22 Time
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญไทย 20 ฉบับ แก้สำเร็จมาแล้ว 22 ครั้ง

"การแก้ไขรัฐธรรมนูญ" เป็นหัวข้อที่สังคมพูดถึงกัน แม้รัฐธรรมนูญปี 2560 จะแก้ไขยาก แต่ใช่ว่าจะเป็นไปไม่ได้เลย ระยะเวลา 87 ปี ที่ผ่านมา ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง รัฐธรรมนูญเคยถูกแก้ไขสำเร็จมาแล้ว 22 ครั้ง ต่างกรรมต่างวาระด้วยกัน ซึ่งในยุคที่มีการเลือกตั้งแก้ไขรัฐธรรมนูญไปทั้งสิ้น 10 ครั้ง 
-26662_๑๙๐๖๒๖_0012
อ่าน

ขั้นตอนออกกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ 2560

หลังเลือกตั้ง สภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอำนาจหลักพิจารณากฎหมายกลับทำงานอีกครั้ง  ถึงแม้ 5 ปีแรก ส.ว. มีอำนาจเท่า ส.ส. ในการออกกฎหมายการปฏิรูปประเทศก็ตาม แต่การออกกฎหมายทั่วไปมีขั้นตอน ได้แก่ 1) การเสนอร่างกฎหมาย 2) การพิจารณาของสภา ส.ส. และ ส.ว. 3) การประกาศใช้ โดยกฎหมายที่ออกมาส่วนใหญ่เรียกว่า พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.)     
-วีระ-060619
อ่าน

มองฝุ่นตลบในสภาอย่างมีทางออก กับ ดร.วีระ หวังสัจจะโชค

หลังการเลือกประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 24 – 25 พ.ค. 2562 ที่ผ่านมา ทำให้คนติดตามการเมืองมองว่าสภาจะเต็มไปด้วยความวุ่นวาย  แต่ด้วยความต้องการมองหา ‘ความหวัง’ ในฝุ่นตลบทางการเมือง เราจึงไปพูดคุยกับ ดร.วีระ หวังสัจจะโชค แห่งคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าเรามองเห็นอนาคตทางการเมืองจะเป็นแบบไหน
5-ข้อควรรู้ก่อเลือกนายกรัฐมตรี_TH
อ่าน

5 ข้อควรรู้ก่อนการประชุมสภาเลือกนายกรัฐมนตรี

วันนี้ (5 มิถุนายน 2562) เวลา 11.00 น. จะมีการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 1 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี ที่หอประชุมใหญ่ อาคาร 9 ชั้น 2 บริษัท ทีโอที จำกัด มหาชน แต่ก่อนจะไปลุ้นกันในสภา ไอลอว์ขอพาทุกคนไปพบกับ 5 ข้อที่ควรรู้ก่อนการประชุมสภาเลือกนายกรัฐมนตรี
party list formula
อ่าน

ความมึนงงในการคำนวณ สส.ปาร์ตี้ลิสต์ เมื่อเขียนสูตรเลขด้วยภาษานิติศาสตร์

ปัญหาการคำนวณ สส. ปาร์ตี้ลิสต์เป็นเรื่องของการเขียนสูตรเลขด้วยภาษานิติศาสตร์ และอาจมีคนกำลังหาทางออกด้วยวิธีทางรัฐศาสตร์
Restriction of MP candidate
อ่าน

เลือกตั้ง 62: สมัคร ส.ส. ยุคนี้แสนลำบาก หาเสียงยากข้อจำกัดมากมาย

ผู้สมัคร ส.ส. ลงสนามเลือกตั้งในปี 2562 ต่างต้องเจอกับข้อจำกัดมากมายตามกฎหมายที่ คสช. เขียนขึ้น ทั้งการจัดตั้งพรรค การหาสมาชิกพรรคก่อนลงสนาม ระหว่างช่วงหาเสียงเลือกตั้งก็มีข้อห้ามใหม่ๆ ออกมาอีกมาก รวมทั้งแม้ชนะเลือกตั้งเข้าสู่สภาแล้ว ก็ไม่อาจทำงานได้ง่ายดายนัก
Prime Minister List
อ่าน

เลือกตั้ง 62: บัญชีว่าที่นายกฯ สามรายชื่อ คืออะไร

เลือกตั้ง 24 มี.ค. 2562 บังคับให้พรรคการเมืองเสนอ "บัญชีว่าที่นายกรัฐมนตรี" ก่อนการเลือกตั้งไม่เกินพรรคละ 3 รายชื่อ ซึ่งคนที่จะมีโอกาสเป็นนายกฯ หลังการเลือกตั้งต้องอยู่ในรายชื่อบุคคลที่พรรคการเมืองเสนอไว้ ซึ่งไม่ใช่การให้ประชาชนเลือกนายกฯ โดยตรง แต่จะเป็นการเลือกผ่าน ส.ส. 500 คน และ ส.ว. 250 คน