senate disagree with constitutional referendum
อ่าน

ส.ว. โหวตคว่ำ! 157 : 12 เสียง ไม่ส่งครม. ทำประชามติ จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

21 ก.พ. 2566 ที่ประชุมวุฒิสภามีมติ “ไม่เห็นด้วย” กับการส่งให้ครม. จัดทำประชามติเพื่อถามประชาชนว่าสมควรจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับหรือไม่ ด้วยคะแนนเสียง ไม่เห็นด้วย 157 เสียง เห็นด้วย 12 เสียง งดออกเสียง 13 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 เสียง เป็นอันว่าเรื่องดังกล่าวนั้นตกไป
Article 272 Repeal
อ่าน

สภาล่มก่อนพิจารณาแก้รธน. ปิดสวิชต์ ส.ว. ส.ว. แจ้งลาประชุมสูงถึง 95 คน

8 กุมภาพันธ์ 2566 ที่ประชุมรัฐสภามีกำหนดพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ..) พุทธศักราช …. เสนอโดยพรรคเพื่อไทย ให้ยกเลิกมาตรา 272 ประธานกดออดเพื่อนับองค์ประชุมก่อนลงคะแนนในญัตติ แต่เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่าไม่ถึงกึ่งหนึ่ง จึงทำให้ต้องปิดประชุม และพบว่ามี ส.ว. แจ้งลาประชุมสูงถึง 95 คน
316947825_10167320941780551_5166993564394570998_n
อ่าน

ปิดทางสู้? ศาลไม่ออกหมายเรียกพยานเอกสารเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ให้จำเลยชุมนุมปฏิรูปสถาบันฯ

คดีมาตรา 112 จำนวนหนึ่งเป็นคดีที่มีมูลเหตุมาจากการปราศรัยหรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการใช้พระราชอำนาจหรือการดำเนินการบางประการของพระมหากษัตริย์ เช่น การเสด็จพระราชดำเนินและการประทับในต่างแดนหรือการใช้งบประมาณ การพิสูจน์ความบริสุทธิ์หรือพิสูจน์เจตนาในการกระทำของจำเลยเหล่านั้นจึงจำเป็นต้องอาศัยเอกสารสำคัญ เช่น เอกสารบันทึกการเสด็จพระราชดำเนินเข้า – ออกประเทศ หรือเอกสารเกี่ยวกับงบประมาณของพระมหากษัตริย์ ซึ่งอยู่ในความครอบครองของหน่วยงานต่างๆ มาเป็นหลักฐานในการต่อสู้คดี จำเลยในคดีเหล่านั้นจึงร้องขอให้ศาลออกหมายเรียกพยานเอกสารสำคัญที่อยู่ในควา
1-1@2x-100 (2)
อ่าน

รวมเทคนิค “ถ่วงเวลา” การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยประชาชน

ความยากของการแก้รัฐธรรมนูญ ปี 2560 ไม่ได้จำกัดอยู่แค่มาตรา 256 เพราะในความเป็นจริง ตัว ส.ส. ฝ่ายรัฐบาล และ ส.ว. ที่มาจากรัฐบาล ก็เป็นส่วนหนึ่งของการถ่วงเวลาในการแก้รัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะประเด็นเรื่องการร่างรัฐธรรมนูญใหม่โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ซึ่งที่ผ่านมา มีการใช้เทคนิคเพื่อถ่วงเวลาการแก้รัฐธรรมนูญจากทั้ง ส.ส. และ ส.ว. รวมกันอย่างน้อย 5 ครั้ง
Dr Jate
อ่าน

รวมคำอภิปราย ส.ว. ต่อข้อเสนอ #ตัดอำนาจสว ยกเลิก272

รวมคำอภิปราย ส.ว. ในศึกแก้รัฐธรรมนูญ SEASON 4 ต่อข้อเสนอ #ตัดอำนาจสว ยกเลิกมาตรา 272 ทั้ง วันชัย สอนศิริ, กิตติศักดิ์ รัตนวราหะ, เฉลา พวงมาลัย, เจตน์ ศิรธรานนท์, ถวิล เปลี่ยนศรี และมณเฑียร บุญตัน บางคนพูดชัดว่า ยอมตัดอำนาจตัวเอง แต่หลายคนให้เหตุผลลอยๆ ปล่อยให้ตีความ
3 reasons why the Senators did not vote according to MP majority
อ่าน

3 เหตุผล ที่ ส.ว. ควรหยุดอ้างว่า เลือก พล.อ.ประยุทธ์ ตามเสียงข้างมากของ ส.ส.

ข้ออ้างยอดฮิตของเหล่า ส.ว. ในการไม่ปิดสวิตช์ตัวเองคือ ส.ว. นั้นโหวตนายกฯ ตามเสียงข้างมากของ ส.ส. ทำให้เสียงของ ส.ว. นั้นไม่มีความหมาย แต่ข้ออ้างเช่นนี้ไม่ได้ตั้งอยู่บนฐานของความเป็นจริง หาก ส.ว. บริสุทธิ์ใจและเชื่อว่าเสียงของตนเองไม่ได้เป็นตัวแปรจริง ก็ควรตัดอำนาจตัวเองให้ไม่โดนสังคมครหา
Abolished the Right to Vote PM of Senate
อ่าน

รวมคำอภิปรายตัวแทนผู้เสนอร่างรัฐธรรมนูญ​ #ตัดอำนาจสว ยกเลิก272

6-7 กันยายน 2565 รัฐสภาพิจารณาร่างแก้รัฐธรรมนูญในวาระหนึ่ง โดยมีหนึ่งร่างเสนอโดยภาคประชาชนหกหมื่นกว่าชื่อ เสนอยกเลิกมาตรา 272 ที่ให้อำนาจส.ว. ชุดพิเศษ 250 คน เลือกนายกรัฐมนตรี ร่วมกับ ส.ส. ทั้งนี้ตัวแทนผู้เสนอได้อภิปรายความสำคัญของการตัดอำนาจ ส.ว. ดังนี้
Article 272 Repeal
อ่าน

ปิดสวิตช์ ส.ว. เสนอมาห้าครั้ง ทุกรูปแบบทุกกระบวนท่า ไม่เคยผ่าน ส.ว.

ที่ผ่านมา ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่เสนอให้ปิดสวิตช์ ส.ว. ห้าฉบับไม่ได้รับเสียงเห็นชอบจาก ส.ว. ถึงอย่างน้อยหนึ่งในสามหรือ 84 เสียงเลยแม้แต่ครั้งเดียว ข้อเสนอล่าสุดของกลุ่ม No 272 มีความแตกต่างจากข้อเสนอที่ผ่านมาเพราะมีการเสนอในลักษณะ “ประเด็นเดียว” คือมุ่งตรงไปที่อำนาจเลือกนายกของ ส.ว. เท่านั้นและไม่แตะประเด็นอื่นเลย
Senate vote no NACC candidate
อ่าน

ส.ว. ไม่เห็นชอบ ศ.อารยะ นั่งเก้าอี้ป.ป.ช. แทนตำแหน่งที่ว่างมากว่า 8 เดือน

1 สิงหาคม 2565 ที่ประชุมวุฒิสภา “ไม่เห็นชอบ” ให้ศาสตราจารย์อารยะ ปรีชาเมตตา ดำรงตำแหน่งกรรมการป.ป.ช. ด้วยคะแนนเสียงไม่ให้ความเห็นชอบ 146 เสียง ให้ความเห็นชอบ 38 เสียง ไม่ออกเสียง 14 เสียง 
Senate committee extended consideration period on draft bill on torture
อ่าน

ส.ว. ขอยืดเวลาแก้ร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ อาจเสี่ยงผ่านไม่ทันสภาชุดนี้

เส้นทางของประเทศไทยที่จะมีกฎหมายเพื่อป้องกันการซ้อมทรมานและการอุ้มหายเหลืออีกไม่ไกลแล้ว แต่ก่อนจะไปถึงจุดหมายที่หลายฝ่ายพยายามผลักดันมานาน ก็ยังต้องเจอกับ “วุฒิสภา” อันเป็นอีกหนึ่งด่านสำคัญที่รับไม้ต่อมาจากสภาผู้แทนราษฎร