tawan bam
อ่าน

เปิดคำฟ้องคดี 112 ทำโพลขบวนเสด็จ #ตะวันแบม ถูกตั้งข้อหาแม้ตัวโพลไม่ได้ชี้นำผู้ร่วมทำโพล

นับถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 ก็นับเป็นเวลา 27 วันแล้วที่ตะวัน-ทานตะวันและแบม-อรวรรณ ซึ่งอยู่ในความควบคุมของราชทัณฑ์ตั้งแต่วันที่ 18 มกราคม- 6 กุมภาพันธ์ 2566 ประกาศอดอาหารและน้ำจนกว่าข้อเรียกร้องสามข้อได้แก่ การปล่อยตัวผู้ที่ถูกคุมขังจากการแสดงออกทางการเมือง การปฏิรูประบบยุติธรรม และการยกเลิกประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 กับ 116 จะได้รับการตอบรับ ตะวันและแบมยื่นคำร้องขอยกเลิกสัญญาประกันของตัวเองซึ่งส่งผลให้ทั้งสองต้องเข้าเรือนจำเพื่อคัดค้านการคุมขังนักกิจกรรมทางการเมืองหลายๆคน เช่น ใบปอ-ณัฐนิชและเก็ท-โสภณที่กำลังทำกิจกรรมอดนอนอยู่ในเวลานี้ รวมถึงนักกิจกรรมทะลุแก๊ซที่ทยอยได้รับการประกันตัว
316947825_10167320941780551_5166993564394570998_n
อ่าน

ปิดทางสู้? ศาลไม่ออกหมายเรียกพยานเอกสารเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ให้จำเลยชุมนุมปฏิรูปสถาบันฯ

คดีมาตรา 112 จำนวนหนึ่งเป็นคดีที่มีมูลเหตุมาจากการปราศรัยหรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการใช้พระราชอำนาจหรือการดำเนินการบางประการของพระมหากษัตริย์ เช่น การเสด็จพระราชดำเนินและการประทับในต่างแดนหรือการใช้งบประมาณ การพิสูจน์ความบริสุทธิ์หรือพิสูจน์เจตนาในการกระทำของจำเลยเหล่านั้นจึงจำเป็นต้องอาศัยเอกสารสำคัญ เช่น เอกสารบันทึกการเสด็จพระราชดำเนินเข้า – ออกประเทศ หรือเอกสารเกี่ยวกับงบประมาณของพระมหากษัตริย์ ซึ่งอยู่ในความครอบครองของหน่วยงานต่างๆ มาเป็นหลักฐานในการต่อสู้คดี จำเลยในคดีเหล่านั้นจึงร้องขอให้ศาลออกหมายเรียกพยานเอกสารสำคัญที่อยู่ในควา
52231112436_73fbca9ee1_o
อ่าน

#ปล่อยเพื่อนเรา มีนักโทษการเมือง 30 คนในเรือนจำ

จนถึงวันที่ 21 กรกฎาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 30 คน นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่ หลังการชุมนุมของเยาวชนปลดแอกในปี 2563 การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ครั้งนี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563, เดือนกุมภาพันธ์ 2564, เดือนสิงหาคม 2564 และเดือนมีนาคม 2565 ในเดือนเมษายน 2565 มีการไต่สวนเพิกถอนสัญญาประกันของผู้ต้องหาคดีมาตรา 112 ทั้งสิ้น
photo_2022-02-08_18-28-02
อ่าน

เปิดจักรวาลทะลุวังและผองเพื่อน

หากกล่าวถึงการเคลื่อนไหวเรื่องการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ในเวลานี้ ทะลุวังและเครือข่ายที่แยกออกมาจากทะลุวังถือเป็นกลุ่มนักกิจกรรมที่กำลังมีบทบาทสำคัญ ในสถานการณ์ที่การชุมนุมไม่ได้อยู่ในช่วงขาขึ้นและไม่มีการชุมนุมบนท้องถนนขนาดใหญ่ การเคลื่อนไหวของกลุ่มทะลุวังคือเสียงสะท้อนว่าความต้องการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ยังคงมีอยู่ ที่ผ่านมานักเคลื่อนไหวกลุ่มนี้มักจัดกิจกรรมขนาดเล็ก ใช้วิธีการทำโพลสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์โดยหยิบยกคำถามที่เคยอยู่บนโลกออนไลน์ เช่น คำถามเกี่ยวกับขบวนเสด็จ หรือคำถามเกี่ยวกับงบประมาณสถ
c1@2x-100
อ่าน

รวมปรากฏการณ์ “ชุมนุม-คุกคาม-ตอบโต้” การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์

นับตั้งแต่วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 เป็นต้นมา มีการชุมนุมหรือจัดกิจกรรมทางการเมืองเพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์ อย่างน้อย 4 ครั้ง แต่ทั้งก่อนและหลังการจัดกิจกรรมดังกล่าว จะมีเจ้าหน้าที่รัฐเข้าไปคุกคามบรรดาประชาชนและนักกิจกรรม ซึ่งมีไม่น้อยกว่า 14 ครั้ง อาทิ เจ้าหน้าที่ตำรวจเข้าไป “ติดตามตัว” บรรดานักกิจกรรมบริเวณเคหสถานหรือที่พัก ซึ่งปฏิบัติการดังกล่าวเป็นกระบวนการที่ไม่มีอำนาจตามกฎหมายรองรับที่ชัดเจน รวมถึงมีการสอบถามข้อมูลส่วนตัวและมีการข่มขู่เพื่อไม่ให้ทำกิจกรรมทางการเมือง นอกจากนี้ กลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับการแสดงความคิดเห็นในเชิงวิพากษ์วิจารณ์สถาบันกษัตริย์ก็ค่อยๆ ขยับ เพื่
อ่าน

สรุปความคิดเห็นต่อร่างภาษีที่ดินฯ

หลายฝ่ายเห็นตรงกัน ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างหลักการดี แต่ห่วงกระทบคนชั้นกลาง-ล่าง จ่ายไม่ไหว ชี้ไม่ช่วยลดเหลื่อมล้ำ แนะเก็บเฉพาะคนมีที่ดินเกิน 50 ไร่ ในอัตราก้าวหน้า