Phue Thai Proposal
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: เพื่อไทยเสนอ “นายกฯ ต้องเป็น ส.ส.”-เพิ่มกลไกคุ้มครองสิทธิหลายประเด็น

พรรคเพื่อไทยยังไม่ยอมแพ้ใช้ช่องทางการเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเสนอร่างอีกสามฉบับ เปิดประตูภาคสี่ โดยมีหนึ่งฉบับที่เป็นประเด็นใหม่เกี่ยวกับสิทธิชุมชน ฉบับหนึ่งเสนอเพิ่มสิทธิในกระบวนการยุติธรรม สิทธิคนพิการ สิทธิคนไร้บ้าน และยกเลิกช่องทางนายกฯคนนอก ซึ่งเคยเสนอไม่ผ่านมาแล้ว
52084064822_3c72c2de07_o
อ่าน

สรุปเสวนา #ปล่อยนักโทษการเมือง: เมื่อสิทธิประกันตัวกลายเป็นแค่โฆษณาชวนเชื่อ

19 พฤษภาคม 2565 กลุ่มคณะราษฎรยกเลิก 112 (ครย.112) จัดเสวนาในชื่อ #ปล่อยนักโทษการเมือง ส่งเสียงถึงศาล-ส่งสารถึงเพื่อน โดยมีการพูดคุยถึงสถานการณ์การคุมขังประชาชนที่ออกมาแสดงออกทางการเมืองในรูปแบบต่างๆ รวมถึงการไม่ให้ประกันตัวคนที่ออกมาเคลื่อนไหวหรือแสดงออกทางการเมืองว่า มีผู้ถูกคุมขังอยู่ระหว่างชั้นสอบสวนของตำรวจ อย่างน้อย 9 คน และมีผู้ต้องคำพิพากษาให้จำคุก อย่างน้อย 2 คน
36485086793_99aeec0c62_o
อ่าน

ดูหมิ่นนายกฯ: ข้อหาเก่า-กลยุทธ์ใหม่ เพื่อใช้หยุดการวิพากษ์วิจารณ์

โดยปกติ ความผิดฐาน “ดูหมิ่น” ตามประมวลกฎหมายอาญา เป็นกฎหมายที่มุ่งคุ้มครอง “เกียรติหรือชื่อเสียงของบุคคล” ไม่ให้ผู้ได้มาสบประมาท ดูถูกเหยียดหยาม หรือ ทำให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งอับอายหรือได้รับความเกลียดชัง ซึ่งทำหน้าที่คุ้มครองศักดิ์ศรีของบุคคลที่สถานะเท่าๆ กันน หรือคุ้มครองบุคคลที่สถานะอ่อนด้อยกว่าไม่ให้ถูกรังแก แต่ความไม่ปกติของกฎหมายกำลังเกิดขึ้น เมื่อมันถูกนำมาใช้เพื่อป้องปราบผู้ที่ออกมาแสดงความคิดเห็นทางการเมือง โดยเฉพาะผู้ที่ออกมาวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล ที่สำคัญ กระบวนการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่ปกตินี้กำลังดำเนินการอย่างเป็นระบบ ภายใต้สิ่งที่เรียกว่า “คณะกรรมการตรวจ
PPRP
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปร่างพลังประชารัฐ2 เอาระบบเลือกตั้งคล้าย’40 ลดทอนกลไกปราบทุจริต

ข้อเสนอให้แก้ไขรัฐธรรมนูญในภาคสองจากพรรคพลังประชารัฐ แยกได้เป็น 5 ประเด็น 13 มาตรา เพิ่มสิทธิในกระบวนการยุติธรรม แก้ไขระบบเลือกตั้งยกเลิกการทำ Primary Vote กลับไปใช้คล้ายกับปี 2540 ลดความเข้มงวดกลไกปราบโกง
Public Hearing
อ่าน

การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย: กลไกตรวจสอบอำนาจตุลาการโดยประชาชน

การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย (Public Trial) มาคู่กันเสมอกับสิทธิการเข้าถึงการพิจารณาคดีที่เป็นธรรม (Right to a Fair Trial) ครอบครัว ญาติ เพื่อนฝูง องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน สื่อมวลชน หรือประชาชนคนทั่วไป ต้องสามารถเข้าไปร่วมรับฟังกระบวนการไต่สวนในศาลได้    
Screen Shot 2564-04-28 at 23
อ่าน

เสวนาหน้าศาล: ทนาย-นักวิชาการ รุมอัดศาล! ไร้ความกล้าหาญที่จะยืนยันสิ่งที่ถูกต้อง

เครือข่าย People Go Network จัดกิจกรรม เสวนาหน้าศาล ในหัวข้อ ความยุติธรรมกับการคืนสิทธิประกันตัวโดยไม่มีเงื่อนไข โดยมี ดร.เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ คอรีเยาะ มานุแช สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน ร่วมวงเสวนา
2021
อ่าน

สิทธิประกันตัว: สิทธิที่มักถูกยกเว้นสำหรับผู้ต้องหาคดี 112

สิทธิในการประกันตัว เป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน แต่ทว่า สิทธิดังกล่าวกลับกลายเป็น “สิทธิที่ถูกยกเว้น” โดยเฉพาะกับผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีมาตรา 112 ซึ่งเหตุผลที่ศาลใช้ในการไม่ให้สิทธิประกันตัว คือ “น้ำหนักของข้อหา” เพื่อเชื่อมโยงว่า กลัวจำเลยหลบหนีหรือกระทำผิดซ้ำ โดยที่ขาดข้อเท็จจริงประกอบ
Right and Liberty under State's Security
อ่าน

ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560 : สิทธิเสรีภาพที่อยู่ภายใต้ “ความมั่นคงของรัฐ”

รัฐธรรมนูญ 2560 แม้จะรับรองหลักความเสมอภาค หลักห้ามเลือกปฏิบัติ และสิทธิเสรีภาพไว้หลายประการ ทว่าก็ยังขาดความชัดเจนในบางประเด็น รายละเอียดหลายประการที่เปลี่ยนแปลงไปจากรัฐธรรมนูญในอดีต และยังเต็มไปด้วยข้อจำกัดมากมาย ที่ส่งผลให้การใช้สิทธิเสรีภาพของประชาชนยังต้องอยู่ภายใต้ "ความมั่นคงของรัฐ"
Movie-Review-01_TN
อ่าน

22 July: หนังสะท้อนกระบวนการยุติธรรมที่เคารพสิทธิมนุษยชน

งานเขียนดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม iLaw Movie's Pick ที่เปิดพื้นที่ให้คนทั่วไปได้เล่าเรื่องการเมือง สังคม สิทธิมนุษยชน หรือกระบวนการยุติธรรมผ่านภาพยนตร์ โดยในช่วงที่ทุกคนล้วนต้องกักตัวตามมาตรการของรัฐ 
justice rights
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิในกระบวนการยุติธรรมตัดให้สั้นลง สิทธิมีทนายความหายไป

รัฐธรรมนูญ 2560 เขียนให้ "สั้น กระชับ" จึงไม่ได้ใส่หลักการหลายประการ สิทธิของประชาชนเมื่อเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม หลายเรื่องต้องไปดูในกฎหมายอื่น และบางเรื่องถูกโยกไปเป็น "หน้าที่ของรัฐ" ประเด็นสำคัญ คือ สิทธิของผู้ต้องหาที่จะได้รับการเยี่ยมถูกตัดออกไป และสิทธิที่จะมีทนายความไม่ใช่ของทุกคน แต่รัฐจัดให้ผู้ยากไร้