Activists met Minister of Justice
อ่าน

กลุ่มราษฎรยกเลิก 112 พบ รมต.ยุติธรรม เรียกร้องสิทธิผู้ต้องขัง และนิรโทษกรรมนักโทษการเมือง

กลุ่มคณะราษฎรยกเลิก 112 รวมตัวกันเดินขบวนไปยังกระทรวงยุติธรรมยื่นเสนอข้อเรียกร้องให้มีการนิรโทษกรรมนักโทษการเมืองแก่ พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
53062917460_780e4e71e3_k
อ่าน

“เสียงจากเรือนจำ”: ความคับข้องใจของเอกชัย หงส์กังวาน ถึงคำพิพากษาจำคุก คดีเล่าเรื่องเพศสัมพันธ์ในเรือนจำ

“คดีนี้มีความไม่ชอบมาพากล ใช้ดุลยพินิจ ไม่ถูกต้องหลายเรื่อง มีการใช้ส่วนที่ไม่เป็นคุณต่อผม” ความคิดของนักกิจกรรมทางการเมืองที่ติดคุกจากการเล่าประสบการณ์เพศสัมพันธ์ในเรือนจำ
52076983498_685acebb3b_o
อ่าน

8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน เอกชัย หงส์กังวาน นักสู้ผู้ยอมหักไม่ยอมงอ

รัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 เวียนมาครบรอบแปดปีในวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ระยะเวลาแปดปีที่ผ่านมามีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในประเทศนี้หลายประการ เช่น พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผันตัวจากหัวหน้าคณะรัฐประหารมาเป็นนายกรัฐมนตรีที่เข้าสู่อำนาจตามกลไกปกติรัฐธรรมนูญ 2560 พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ พี่ใหญ่ คสช.ผันตัวเป็นนักการเมืองแบบเต็มตัวด้วยการสมัครเป็นสมาชิกและขึ้นดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ  จากนั้นก็มีการจัดการเลือกตั้งครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ในวันที่ 24 มีนาคม 2562 การเลือกตั้งในปี 2562 และการสิ้นสภาพของคสช.
2021
อ่าน

สิทธิประกันตัว: สิทธิที่มักถูกยกเว้นสำหรับผู้ต้องหาคดี 112

สิทธิในการประกันตัว เป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน แต่ทว่า สิทธิดังกล่าวกลับกลายเป็น “สิทธิที่ถูกยกเว้น” โดยเฉพาะกับผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีมาตรา 112 ซึ่งเหตุผลที่ศาลใช้ในการไม่ให้สิทธิประกันตัว คือ “น้ำหนักของข้อหา” เพื่อเชื่อมโยงว่า กลัวจำเลยหลบหนีหรือกระทำผิดซ้ำ โดยที่ขาดข้อเท็จจริงประกอบ
50892686071_80930f47fa_o
อ่าน

เก็บตก ‘ขบวนเสด็จ’ กับคณะราษฎรตลอดปี 2563 จากข้อหาหนักสู่การแบ่งครึ่งถนน

ขบวนเสด็จ เป็นประเด็นที่ถูกตั้งคำถามและวิพากษ์วิจารณ์มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงปลายปี 2562 แล้ว โดยครั้งนั้นการตั้งคำถามเป็นเรื่องความไม่สะดวกในชีวิตประจำวันของประชาชนและอยู่บนพื้นที่ออนไลน์อย่างทวิตเตอร์เป็นหลัก
Anon-2
อ่าน

ปล่อยตัว “อานนท์-ภาณุพงศ์” แล้ว แต่การคุกคามยังไม่จบ

วันที่ 8 สิงหาคม 2…
อ่าน

อีกมุมของการ ‘โกนผม’ การทำผิด การประจาน ความอับอาย

การโกนผมมีความแตกต่างกันไปตามบริบทของพื้นที่และเวลา ในกระบวนการยุติธรรมการโกนหัวนั่นแสดงถึงอำนาจของรัฐในการควบคุมประชาชน โดยผู้ที่โกนจะถูกตราว่าเป็นผู้กระทำผิด และเป็นการประจานทำให้อับอายและเสียชื่อเสียง ทั้งๆ ที่ในบางกรณีตัวผู้ต้องหาเองยังไม่ได้ถูกจำคุกหรือถูกศาลตัดสินว่ามีความผิด
อ่าน

แก้กฎหมายศาลทหาร หวังยกมาตรฐานเทียบเท่าศาลพลเรือน

ข้อเสนอแก้พ.ร.บ.ธรรมนูญศาลทหาร ที่อยู่ใน สนช. ตอนนี้ เพิ่มเงินเดือนให้ตุลาการพระธรรมนูญและอัยการทหาร ปรับหลักการหลายอย่างให้สอดคล้องกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และยังมีข้อถกเถียงเรื่องการให้ทหารสั่งขังผู้ต้องสงสัยโดยไม่ขอหมายศาลได้
อ่าน

ร่างแก้ไขวิ.อาญาฯ: เพิ่มอำนาจดักฟังโทรศัพท์ ใครใช้สิทธิไม่ให้การให้สันนิษฐานว่าผิด

ร่างแก้ไข วิ.อาญาฯ เป็น 1 ใน ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ ร่างนี้เพิ่มอำนาจตำรวจในการดักฟังโทรศัพท์และดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ของประชาชน โดยต้องขอหมายศาล และกำหนดว่าหากผู้ต้องหาใช้สิทธิไม่ให้การในชั้นสอบสวน แล้วอ้างในชั้นศาล ศาลจะไม่รับฟัง