NBCT was sued due to enforced face recognition policy in southern province
อ่าน

คนสามจังหวัดฟ้อง กสทช. เหตุตัดสัญญาณมือถือเพราะไม่สแกนใบหน้า

2 กรกฎาคม 2563 มูลนิธิผสานวัฒนธรรม โดยปรีดา นาคผิว ในฐานะผู้รับมอบอำนาจของผู้ฟ้องคดี ได้ยื่นฟ้องกสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เนื่องจากประชาชนในจังหวัดชายแดนใต้ถูกตัดสัญญาณโทรศัพท์ เพราะไม่ได้ลงทะเบียนสแกนใบหน้าซิมโทรศัพท์เคลื่อนที่ “สองแชะ” เพิ่มจากการลงทะเบียนปกติ
11 Oct Seminar
อ่าน

“คืนคำพิพากษาให้ผู้พิพากษา” คุยต่อจากแถลงการณ์ของผู้พิพากษาที่ยิงตัวเอง

วงเสวนาเปิดประเด็นคุยต่อจากแถลงการณ์ 25 ของคณากร เพียรชนะ ผู้พิพากษาที่ยิงตัวเอง ทั้งประเด็นความเป็นอิสระของผู้พิพากษา โอกาสที่จะถูกแทรกแซงโดยอธิบดีผู้พิพากษาภาคหรืออิทธิพลของทหาร และประเด็นสิทธิของผู้ถูกควบคุมตัวภายใต้กฎหมายพิเศษ ในพื้นที่ชายแดนใต้
Screen Shot 2562-10-11 at 15
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: “มาตรา 1” ข้อจำกัดใหญ่ของการกระจายอำนาจรูปแบบพิเศษ

ในงานศึกษาทางวิชาการและความเห็นของนักวิชาการ อย่าง รศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ คณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ต่างเห็นตรงกันว่า โครงสร้างของรัฐมีผลต่อการรักษาไว้ซึ่งความหลากหลาย จึงจำเป็นต้องมีการจัดวางโครงสร้างเสียใหม่ แต่ทว่า "มาตรา 1" ของรัฐธรรมนูญก็ทำลายจินตนาการต่อรูปแบบโครงสร้างของรัฐที่เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่
Article 1 of the Constitution is hard to amend
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: มาตรา 1 แค่เห็นต่างทำได้ แต่แก้ไขยาก

ส.ส. ฝ่ายค้าน นักวิชาการ และภาคประชาสังคมรวม 12 คน ถูก กอ.รมน. แจ้งความข้อหา“ยุยงปลุกปั่น” ป. อาญา ม. 116 จากงานเสวนา "พลวัตรแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ สู่นับหนึ่งรัฐธรรมนูญใหม่" จ. ปัตตานี ซึ่ง อ. ชลิตาพูดถึงการแก้มาตรา 1 ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญปี 60 ห้ามแก้มาตรา 1 อยู่แล้ว แต่การเห็นต่างเป็นเสรีภาพการแสดงออก
Handcuff
อ่าน

การทรมานหาหลักฐานไม่ง่าย การค้นหาความจริงยังสำคัญสำหรับกระบวนการสันติภาพ

เหตุการณ์ซ้อมทรมานผู้ถูกควบคุมตัวในจังหวัดชายแดนใต้มีหลายกรณีที่เป็นที่จดจำ ล่าสุดกรณีของนายอับดุลเลาะ อีซอมูซอ ขาหยุดหายใจและมีอาการสมองบวมจากการหยุดหายใจ การค้นหาความจริงจะนำไปสู่การดำเนินการอื่นๆ ที่จะกลายเป็นฟันเฟืองในการสร้างสันติภาพที่แท้จริงได้
DuiJai Report
อ่าน

รายงาน สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยกลุ่มด้วยใจ

กลุ่มด้วยใจนำเสนอรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี 2561 ประกอบด้วยสรุปย่อเนื้อหาและรายงานฉบับเต็ม
42310165_2007373882897539_1513371163135311872_n
อ่าน

RSD-สิทธิในการกำหนดชะตากรรมตัวเอง ทางเลือกสันติภาพชายแดนใต้

สหพันธ์นิสิตนักศึกษานักศึกษานักเรียนและเยาชนปาตานี หรืิอ PerMAS จัดกิจกรรมเสวนา แลกเปลี่ยนมุมมองพร้อมทั้งเสนอวิธีแก้ไขปัญหาของชาวมุสลิมในปัตตานี ภายใต้หัวข้อ  “สิทธิในการกำหนดชะตากรรมตัวเองเพื่อสันติภาพ” โดยประธานสหพันธ์นิสิตนักศึกษาปัตตานีฯ เสนอให้ปรับใช้เรื่องสิทธิในการกำหนดชะตากรรมของตัวเองเป็นทางเลือกหนึ่งในการแก้ปัญหาความขัดแย้งในภาคใต้ โดยนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์และรัฐศาสตร์ เห็นตรงกันว่า ต้องมีการบริหารจัดการความหลากหลาย และสร้างความไว้วางใจระหว่างประชาชนกับรัฐ
อ่าน

ร่าง ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคง: ยุติปัญหาความไม่สงบภาคใต้ภายในปี 2569

การจัดทำร่างยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง รัฐบาล คสช. แต่งตั้ง พลเอกวรพงษ์ สง่าเนตร เป็นประธานคณะกรรมการฯ รวมด้วยกรรมการฯ อีกจำนวน 9 คน หลังจัดรับฟังความคิดเห็นประชาชนร่างยุทธศาสตร์ชาติฉบับนี้จะถูกแก้ไขเพิ่มเติมก่อนจะถูกเสนอต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ
อ่าน

เคอร์ฟิว! มาตรการใหม่หน้าเก่า กับสิทธิพลเมืองของคนในสามจังหวัดภาคใต้

หลังทหารปะทะกับกองกำลังติดอาวุธในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ เมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 56 แม่ทัพภาคที่ 4 ประกาศเคอร์ฟิวในพื้นที่ 6 ตำบลเป็นเวลา 24 ชั่วโมง เคอร์ฟิวคืออะไร? เคอร์ฟิวเคยใช้แก้ปัญหาอะไร? เคอร์ฟิวเป็นการแก้ปัญหาที่ถูกจุดหรือไม่ สิทธิของคนในพื้นที่จะเป็นอย่างไร
Yuhani
อ่าน

โซ่ตรวนนักโทษ: พันธนาการที่เหนี่ยวรั้งปัญหาชายแดนใต้

นักโทษคดีความมั่นคงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ถือกันว่าคดีมีโทษสูง น่าจะหลบหนี จึงต้องถูกใส่ตรวน 24 ชั่วโมง แม้ศาลยังไม่ตัดสินก็ตาม คนที่ใส่ตรวนต้องเผชิญสภาพอย่างไร และตรวนช่วยแก้หรือช่วยเพิ่มปัญหาความรุนแรง