316947825_10167320941780551_5166993564394570998_n
อ่าน

ปิดทางสู้? ศาลไม่ออกหมายเรียกพยานเอกสารเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ให้จำเลยชุมนุมปฏิรูปสถาบันฯ

คดีมาตรา 112 จำนวนหนึ่งเป็นคดีที่มีมูลเหตุมาจากการปราศรัยหรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการใช้พระราชอำนาจหรือการดำเนินการบางประการของพระมหากษัตริย์ เช่น การเสด็จพระราชดำเนินและการประทับในต่างแดนหรือการใช้งบประมาณ การพิสูจน์ความบริสุทธิ์หรือพิสูจน์เจตนาในการกระทำของจำเลยเหล่านั้นจึงจำเป็นต้องอาศัยเอกสารสำคัญ เช่น เอกสารบันทึกการเสด็จพระราชดำเนินเข้า – ออกประเทศ หรือเอกสารเกี่ยวกับงบประมาณของพระมหากษัตริย์ ซึ่งอยู่ในความครอบครองของหน่วยงานต่างๆ มาเป็นหลักฐานในการต่อสู้คดี จำเลยในคดีเหล่านั้นจึงร้องขอให้ศาลออกหมายเรียกพยานเอกสารสำคัญที่อยู่ในควา
IMG_1716
อ่าน

เก็บตกการสืบพยาน คดีติดสติกเกอร์ กูkult กับการต่อสู้คดีที่เต็มไปด้วยข้อจำกัด

วันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ และวันที่ 1 มีนาคม 2565 ศาลอาญารัชดานัดสืบพยานคดีประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ของ นรินทร์ คดีนี้จำเลยถูกกล่าวหาว่าติดสติกเกอร์ “กูkult” ซึ่งเป็นโลโก้เพจเสียดสีการเมืองเพจหนึ่งบนพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งติดตั้งอยู่ที่หน้าศาลฎีกาที่มีการชุมนุม #19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร หลังกระบวนการสืบพยานเสร็จสิ้นในวันที่ 1 มีนาคม 2565 ศาลอาญานัดฟังคำพิพากษาในวันศุกร์ที่ 4 มีนาคม 2565 ซึ่งเท่าที่ไอลอว์มีข้อมูล การนัดฟังคำพิพากษาคดีนี้น่าจะเร็วที่สุดในบรรดาคดีมาตรา 112 ที่พิจารณาโดยศาลอาญาและจำเลยให้การปฏิเสธ
Somchai to Wanchalerm
อ่าน

จากคดี “ทนายสมชาย” ถึงอุ้มหายวันเฉลิม จะเอาผิดคนร้ายในไทยได้ต้องแก้กฎหมายก่อน

ตัวอย่างจากคดีการหายตัวของทนายสมชาย ที่เอาผิดกับคนทำไม่ได้ ช่วยให้เราเรียนรู้ช่องโหว่ของกฎหมายสำหรับการอุ้มหายที่เกิดขึ้น 16 ปีให้หลัง กรณีของวันเฉลิมเหตุเกิดที่ต่างประเทศ แม้กฎหมายไทยเปิดช่องให้เอาผิดในไทยได้ แต่ปัญหาอยู่ที่ "ผู้เสียหาย" ที่จะเป็นคนริเริ่มคดี
14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกร
อ่าน

14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกรรมการทำงานไปก่อน

วันที่ 12 มีนาคม 2561 มีการจัดงานครบรอบ 14 ปี การหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในงานมีการวางดอกไม้รำลึกถึงทนายสมชาย โดยครอบครัว และมีเวทีเสวนาเรื่อง “พัฒนาการล่าสุดของ ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและบังคับสูญหาย”
ภาพคนใจหาย
อ่าน

เข้าใจความหมายของการ “อุ้มหาย” เขียนกฎหมายให้แก้ปัญหา

เราอาจเคยเห็นพาดหัวข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ ว่า “อุ้มหาย” หรือ “อุ้มฆ่า” โดยเหยื่ออาจเป็นผู้มีอิทธิพล หรือ ผู้ที่แสดงความคิดเห็นต่างกับรัฐ บางคนอาจคิดในใจว่า “เป็นปุ๋ยไปแล้วมั๊ง!” หรือไม่ก็ “พวกนี้มันมาเฟียจริงๆ!” ซึ่งหากพิจารณาในแง่กฎหมาย การ “อุ้มหาย” ที่เห็นกันตามหน้าข่าว จริงๆ แล้วเป็นความผิดตามกฎหมายฐานใด และใครบ้างที่เป็นผู้เสียหาย
อ่าน

มูลนิธิผสานวัฒนธรรมออกแถลงการณ์จวกรัฐแก้ปัญหาใต้ล้มเหลว

มูลนิธิผสานยุติธรรมออกแถลงการณ์ แสดงความเสียใจต่อเจ้าหน้าที่รัฐที่สูญเสียจากเหตุการณ์ปะทะกับกลุ่มผู้ติดอาวุธ นราธิวาส และย้ำให้รัฐหาทางออกปัญหาชายแดนใต้อย่างเป็นรูปธรรม